การศึกษาความต้องการการจัดรูปแบบการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมแรงจูงใจในการปฏิบัติงานอาสาสมัคร สภากาชาดไทย
DOI:
https://doi.org/10.14456/ojed.2022.46คำสำคัญ:
แรงจูงใจ, การจัดรูปแบบการเรียนรู้, อาสาสมัครบทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) แรงจูงใจต่อการเข้าสู่กระบวนการอาสาสมัคร 2) แรงจูงใจต่อการปฏิบัติงานอาสาสมัครอย่างต่อเนื่อง และ 3) ความต้องการการจัดรูปแบบการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมแรงจูงใจในการปฏิบัติงานอาสาสมัคร กลุ่มตัวอย่าง คือ อาสาสมัครสภากาชาดไทย อายุตั้งแต่ 25 ปี และได้รับการขึ้นทะเบียนแล้วตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป จำนวน 223 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการจัดลําดับความสําคัญของความต้องการจําเป็น (PNImodified) ผลการศึกษา พบว่า 1) แรงจูงใจในการเข้าสู่กระบวนการอาสาสมัครด้านการแสดงออกถึงค่านิยมของตนเอง มีระดับสูงที่สุด (M = 4.67) 2) การส่งเสริมการพัฒนาตนเองโดยการสนับสนุนให้มีการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน และลักษณะของงานที่ทำตรงกับความรู้ความสามารถ ช่วยเสริมแรงจูงใจต่อการปฏิบัติงานอาสาสมัครอย่างต่อเนื่อง 3) อาสาสมัครมีความต้องการต่อการจัดรูปแบบการเรียนรู้ด้านการมีส่วนร่วมเป็นลำดับที่ 1 โดยมีค่าความต้องการจำเป็น (PNIModified= 0.19)
References
เครือข่ายจิตอาสา. (ม.ป.ป). ฐานข้อมูลองค์กรเอกชน. Volunteerspirit Network. http://www.volunteerspirit.org/?placecategory=foundation
นิศาชล รัตนมณี และ ประสพชัย พสุนนท์. (2562). อัตราการตอบกลับของแบบสอบถามในงานวิจัยเชิงปริมาณ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธนบุรี, 13(3), 181-188. http://www.thonburi-u.ac.th/journal/Document/13-3/Journal13_3_16.pdf
บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 8). สุวีริยาสาส์น.
พรรณธิภา เอี่ยมสิริปรีดา, อัจศรา ประเสริฐสิน, และ นริสนา พึ่งโพธิ์สภ. (2561). แนวคิดและทฤษฎีในการศึกษาแรงจูงใจอาสาเพื่อการส่งเสริมการเป็นพลเมืองใส่ใจสังคม. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 13(37), 1-16.
ภานุมาส มหาทรัพย์สกุล. (2555). ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากการปฏิบัติที่มีต่อจิตสำนึกสาธารณะของนักศึกษาการศึกษานอกระบบ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR). http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37625
สุพัตรา สุภาพ. (2536). เทคนิคการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพยุคใหม่: เน้นพฤติกรรมมนุษย์. ธรรมนิติ.
สุวัฒน์ วัฒนวงศ์. (2547). จิตวิทยาเพื่อการอบรมผู้ใหญ่ (พิมพ์ครั้งที่ 2). บริษัทด่านสุธาการพิมพ์.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2530). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่หก (พ.ศ. 2530-2534). https://www.nesdc.go.th/ewt_w3c/ewt_dl_link.php?nid=3781
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบสอง (พ.ศ. 2560-2564). https://www.nesdc.go.th/ewt_w3c/ewt_dl_link.php?nid=6422
สำนักงานอาสากาชาด. (2563). รายงานประจำปี 2563 สำนักงานอาสากาชาด สภากาชาดไทย. โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์ จำกัด. https://vb.redcross.or.th/wp-content/uploads/2021/04/ARSA-Annual-report-2563.pdf
Barnard, C. (1972). The functions of the executive (30th anniversary ed.). Harvard Press.
Clary, E. G., Snyder, M., Ridge, R. D., Copeland, J., Stukas, A. A., Haugen, J., & Miene, P. (1998). Understanding and assessing the motivations of volunteers: A functional approach. Journal of Personality and Social Psychology, 74(6), 1516. https://doi.org/10.1037/0022-3514.74.6.1516
Gilmer, B. von H. (1961). Industrial psychology. http://Hdl.Handle.Net/2027/Wu.89046870952.
Herzberg, F., Mausner, B., & Snyderman, B. (1993). The motivation to work. Transaction.
Knowles, M.S. (1950). Informal Adult Education. New York: Association Press.
Lindeman, E. C. (1926). Meaning of adult education. New Republic, Incorporated.
Merrilees, B., Miller, D., & Yakimova, R. (2020). Volunteer retention motives and determinants across the volunteer lifecycle. Journal of Nonprofit & Public Sector Marketing, 32(1), 25–46. https://doi-org.chula.idm.oclc.org/10.1080/10495142.2019.1689220
Putnam, R. (2002). Democracies in flux: The evolution of social capital in contemporary society. Oxford University Press. https://oxford-universitypressscholarship-com.chula.idm.oclc.org/view/10.1093/0195150899.001.0001/acprof-9780195150896-chapter-11
Sirota, D., Mischkind, L.A., & Meltzer, M.I., (2005). The enthusiastic employee: How companies profit by giving workers what they want. Pearson Education Inc.
Walton, R. E. (1973). Quality of working life: What is it. Sloan Management Review, 15(1), 11-21.
Yamane, T. (1973). Statistics: An introductory analysis (3rd ed.). Harper and Row Publications.
Yurdugül, H. (2008). Minimum sample size for Cronbach's coefficient alpha: A monte carol study. Eğitim fakü̧ltesi dergisi (H. U. Journal of Education), 35, 397-405.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.