การสร้างความเป็นพลเมืองสู่การเป็นองค์กรคุณภาพของนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

Authors

  • Wassaya Wangplaicharoensuk Faculty of Management Science, Bansomdejchaopraya Rajabhat University
  • Phitak Siriwong Faculty of Management Science, SilpaKorn University
  • Sainil Somboon Faculty of Management Science, Bansomdejchaopraya Rajabhat University

Keywords:

Citizenship, Creating citizenship, Quality organization

Abstract

การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความเป็นพลเมือง และ 2) ศึกษาแนวทางในการสร้างความเป็นพลเมืองสู่การเป็นองค์การคุณภาพของนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้วิธีวิทยาของการสร้างทฤษฎีฐานราก ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้บริหารองค์กร สโมสรนักศึกษา และนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา จำนวน 35 คน ผลการศึกษาพบว่า 1) ความเป็นพลเมืองของนักศึกษาฯ จำแนกได้ 4 ด้าน ได้แก่ ความเป็นพลเมืองที่มีต่อตนเอง ความเป็นพลเมืองที่มีต่อผู้อื่น ความเป็นพลเมืองที่มีต่อสังคม และความเป็นพลเมืองที่มีต่อประเทศชาติ และ 2) ผลการศึกษาแนวทางในการสร้างความเป็นพลเมืองสู่การเป็นองค์การคุณภาพของนักศึกษาฯ พบว่า ประกอบไปด้วย กระบวนการที่สำคัญ 5 กระบวนการ คือ การได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูงขององค์กร การมีนโยบาย กฎ และระเบียบที่เอื้อต่อการเสริมสร้างความเป็นพลเมือง การมีคณะกรรมการ หน่วยงาน หรือบุคลากรดูแลงานด้านการสร้างความเป็นพลเมือง การดำเนินงานและจัดกิจกรรมสร้างความเป็นพลเมือง และ การใช้แบบสอบถาม เพื่อสอบถามความคิดเห็นและความต้องการของนักศึกษาในการจัดกิจกรรมแก่องค์การต่อไป 

References

กรวรรณ เกียรติไกรวัลศิริ. (2557). การสร้างความเป็นพลเมืองผู้ตื่นรู้ตามระบบประชาธิปไตยในโรงเรียนมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

กันทรากร จรัสมาธุสร. (2560). รูปแบบและกลยุทธ์การสร้างพลเมืองตื่นรู้ กรณีศึกษา โครงการพลังเด็กและเยาวชนเพื่อการเรียนรู้ภูมิสังคมภาคตะวันตก. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม.

คณะวิทยาการจัดการ มรภ.บ้านสมเด็จเจ้าพระยา. (2563). สืบค้นเมื่อ 1 เมษายน 2563, เว็บไซต์: https://www.facebook.com/MsBSRU/?epa=SEARCH_BOX.

ทิพย์พาพร ตันติสุนทร.(2558). การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง.(พิมพ์ครั้งที่ 4).กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายศึกษา.

นภาพร แสงนิล. (2561). กลยุทธ์การเสริมสร้างคุณลักษณะความเป็นพลโลกให้กับผู้เรียน โรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดน่าน.วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่, เชียงใหม่.

นิภาพรรณ เจนสันติกุล. (2556). โครงสร้างทางสังคม บทบาทและนโยบายสาธารณะกับความเป็นพลเมือง. วารสารศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่, 5(1),49 –62.

ปรมต วรรณบวร, สุรพล สุยะพรหม และบุษกร วัฒนบุตร. (2560). ความเป็นพลเมืองเพื่อส่งเสริมประชาธิปไตยในท้องถิ่น. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 6(2),85 – 100.

ปิยะนันท์ ทรงสุนทรวัฒน์ และปิยะนุช เงินคล้าย. (2562). กระบวนการพัฒนาความเข้มแข็งของสภาพลเมือง. วารสารชุมชนวิจัย,13(2), 113 – 126.

พรพงษ์ ปอประพันธ์. (2561). การบริหารงานกิจกรรมพัฒนาคุณภาพที่มีผลต่อองค์การสมรรถนะสูง. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร,6(4), 1658 – 1671.

พิณสุดา สิริธรังศรี. (2560). การพัฒนาการศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง. สุทธิปริทัศน์, 31(100), 100 – 113.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564). กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.

สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2560). รายงานการวิจัย : การศึกษาความเป็นพลเมืองของผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ.สืบค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม 2563, จาก สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์เว็บไซต์:http://www.bps.moe.go.th/web2018/2018/07/05/%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2-%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%87-%E0%B8%1%E0%B8%B2/.

สิริวิท อิสโร. (2557). การบริหารคุณภาพในองค์การภาครัฐของไทย : ศึกษากรณีรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

สุภีร์ สมอนา.(2558).รายงานการวิจัย : ความเป็นพลเมืองของนักเรียนในโครงการโรงเรียนพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า.สืบค้นเมื่อ 6พฤษภาคม 2563, จาก สถาบันพระปกเกล้าเว็บไซต์:http://www.kpi.ac.th/public/knowledge/research/data/294.

เอกวีณา ธาตรีอดิเรก. (2548). การจัดการคุณภาพทั่วทั้งองค์การ (TQM) ตามความคิดเห็นของพนักงาน บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) ที่ปฏิบัติงานในส่วนปฏิบัติการระบบตอนนอกที่ 2.2. ปัญหาพิเศษปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี.

Dahlgaard, J. J., Kristensen, K., Kanji, G. K., Juhl, H. J. &Sohal, A. S. (1998). Quality Management Practices: A Comparative Study between East and West. International Journal of Quality and Reliability Management,15(8-1), 812 - 826.

Graneheim, B. L. (2004). Qualitative content analysis in nursing research: concepts, procedures and measures to achieve trustworthiness. Nurse Education Today. 24(2),105–112.

Strauss, A.,&Corbin, J. (1998). Basics of quantitative research: Techniques and procedures for developing grounded theory.2nd ed. Thousand Oaks, CA: Sage.

UNICEFF. (2000). Defining quality in education. Retrieved April 24, 2020, fromGrainesdePaix website: https://www.grainesdepaix.org/en/resources/references/quality-educationde fining-quality-in-education-unicef-2000.

Downloads

Published

2023-06-26

How to Cite

Wangplaicharoensuk, W., Siriwong, P., & Somboon, S. . (2023). การสร้างความเป็นพลเมืองสู่การเป็นองค์กรคุณภาพของนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. Business Review Journal, 15(1), 78–94. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/bahcuojs/article/view/241602

Issue

Section

Research Articles