Engagement to the Organization of Employee : The Way to Success

Authors

  • Chalitpun Boonmeesuwan

Keywords:

Engagement, Loyalty, Ownership Quotient

Abstract

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการให้เห็นถึงความสำคัญของความผูกพันของพนักงานในการเป็นส่วนหนึ่งขององค์การ ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการบริหารงานในยุคปัจจุบัน เพื่อสร้างผลกำไรให้กับองค์การและเป็นแรงผลักดันให้สามารถเติบโตไปข้างหน้าได้อย่างยั่งยืน อย่างไรก็ตามพนักงานภายในองค์การจะเกิดความรู้สึกผูกพันจำเป็นต้องมีแรงจูงใจเพื่อตอบสนองความต้องการของสมาชิกแต่ละคน ซึ่งจะแตกต่างกันทั้งด้านความคิดและพฤติกรรมของแต่ละคน การสำรวจความผูกพันของพนักงานในองค์การเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อจะได้ทราบถึงความรู้สึกของพนักงานส่วนใหญ่ที่มีต่อองค์การ ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความผูกพันขึ้นภายในองค์การนั้นมีอยู่ด้วยกันหลายปัจจัย แต่ปัจจัยที่ถือว่ามีความสำคัญที่สุดคือการทำให้พนักงานรู้สึกว่าเขาเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งขององค์การ ซึ่งเป็นความรู้สึกทางด้านจิตใจและเป็นธรรมชาติของมนุษย์ที่ต้องการได้รับความชื่นชม ผู้บริหารจำเป็นต้องสร้างทัศนคติด้านบวกให้เกิดขึ้นกับพนักงานภายในองค์การ ให้มีความสุขในการทำงานและมีความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งขององค์การ

References

จารุนันท์ อิทธิอาวัชกุล . (2553) บริหารคนเหนือตำรา 2. กรุงเทพฯ : กรุงเทพธุรกิจ.

จิตต์โสภิน นิลลิกา. (2557) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความจงรักภักดีของบุคลากรโรงเรียนเอกชนสาย สามัญ อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง . การค้นคว้าอิสระ บธม. กรุงเทพ : มหาวิทยาลัยเนชั่น.

ชลิตพันธ์ บุญมีสุวรรณและคณะ (2560) การบริหารการเปลี่ยนแปลงกับการพัฒนาองค์การในยุคประเทศ ไทย 4.0 .วารสารธุรกิจปริทัศน์. ปีที่ 9 เล่มที่ 2 (2560) กรกฎาคม – ธันวาคม .

ชะธิณยา หล้าสุวงษ์. (2545) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำบารมีของหัวหน้าหอผู้ป่วย ความก้าวหน้าในอาชีพกับความจงรักภักดีต่อองค์การของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลชุมชน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ซัลวานา ฮะซานี. (2550) ความผูกพันของพนักงานต่อองค์กร กรณีศึกษา พนักงานในโรงแยกก๊าซธรรมชาติ จังหวัดระยอง บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน). สารนิพนธ์ ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ธนู หินทอง. (2557) Employee Engagement. เอกสารสืบค้นสารสนเทศจากฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ทางการแพทย์. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. แหล่งที่มา : www.med.cmu.ac.th (1 ตุลาคม 2561)

ประคัลภ์ ปัณฑพลังกูร. (2556) พนักงานในองค์กรของเรา มีความรู้สึกเป็นเจ้าขององค์กรหรือไม่ . [ PDF ออนไลน์] แหล่งที่มา : https://prakal.wordpress.com. (22 ตุลาคม 2560)
พิสิทธิ์ พัฒน์โภคากกุล. (2561) สร้างความผูกพันของลูกค้า จากความผูกพันของพนักงาน ตอนที่ 2. [PDF ออนไลน์] แหล่งที่มา : www.impressionconsult.com (1 ตุลาคม 2561)

วิเลิศ ภูริวัชร .(2555) การสร้างความผูกพันกับลูกค้า Customer Engagement. กรุงเทพธุรกิจ ฉบับวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2555 หน้า 6. (1 ตุลาคม 2561)

ศุภวรรณ หลำผาสุก . (2550) การศึกษาความผูกพันต่อองค์กรของครูโรงเรียนเครือสารสาสน์เขตพื้นที่ การศึกษา 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Angle and Perry. (1981) An Empirical Assessment of Organizational Commitment and Organization Effectiveness. Administrative Science Quarterly Vol 26 , No 1 (Mar 1981) pp 1-14.

Hoy, Wayne K.; & Rees, Richard. (1974). Subordinate Loyalty to Immediate Supperior: A Neglected Concept in the Study of Educational Administration. Sociology of Education. 47:274 – 275.

Downloads

Published

2020-06-25

How to Cite

Boonmeesuwan, C. . (2020). Engagement to the Organization of Employee : The Way to Success. Business Review Journal, 12(1), 197–207. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/bahcuojs/article/view/242480

Issue

Section

Academic Articles