อิทธิพลของบรรยากาศองค์กรและความผูกพันต่อองค์กรที่มีต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ จังหวัดชลบุรี
คำสำคัญ:
ผลการปฏิบัติงานของพนักงาน, บรรยากาศองค์การ, ความผูกพันต่อองค์การบทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับของบรรยากาศองค์กร ความผูกพันต่อองค์กร และผลการปฏิบัติงานของพนักงาน 2) วิเคราะห์อิทธิพลของบรรยากาศองค์กรต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงาน 3) วิเคราะห์อิทธิพลของบรรยากาศองค์กรต่อความผูกพันต่อองค์กรของพนักงาน และ 4) วิเคราะห์อิทธิพลของความผูกพันต่อองค์กรต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงาน กลุ่มตัวอย่างได้แก่พนักงานที่ปฏิบัติงานในสำนักงานของบริษัทผลิตชิ้นส่วนยานยนต์แห่งหนึ่งในนิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตี้ จังหวัดชลบุรี จำนวน 400 คน ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่าพนักงานรับรู้บรรยากาศองค์กร ความผูกพันต่อองค์กรและผลการปฏิบัติงานระดับมาก บรรยากาศองค์กรไม่มีอิทธิพลทางตรงต่อผลการปฏิบัติงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 บรรยากาศองค์กรมีอิทธิพลทางตรงต่อความผูกพันต่อองค์กรของพนักงาน และความผูกพันต่อองค์กรมีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ บรรยากาศองค์กรจึงมีผลต่อผลการปฏิบัติงานผ่านความผูกพันต่อองค์กร ทั้งนี้บรรยากาศองค์กรและความผูกพันต่อองค์กรสามารถอธิบายความแปรปรวนของผลการปฏิบัติงานได้ร้อยละ 63
References
ดวิษา สังคหะ. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์กรกับความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ธนัญวรินทร์ ศิริชุม. (2560) .ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลการปฏิบัติงานของพนักงานเทศบาลนครสงขลา. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2555). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพ: บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.
ปาริชาต บัวเป็ง. (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของพนักงาน บริษัท ไดกิ้น อินดัสทรีส์ ประเทศไทย (จำกัด). การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
มะลิวรรณ อรรคเศรษฐัง และ สายตา บุญโฉม. (2559). บรรยากาศองค์กรที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากร สำนักงานสรรพากรพื้นที่กาฬสินธุ์. การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 3 ก้าวสู่ทศวรรษที่ 2: บูรณาการงานวิจัย ใช้องค์ความรู้ สู่ความยั่งยืน, 17 มิถุนายน 2559 วิทยาลัยนครราชสีมา. อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา: สยามมัลติซอฟ.
สุดารัตน์ พิมลรัตนกานต์. (2560). อิทธิพลของการรับรู้บรรยากาศองค์กรผ่านความพึงพอใจในงานและความผูกพันต่อองค์กรที่มีผลการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 10(2), 1611-1629.
อัจฉรา เฉลยสุข. (2556). อิทธิพลของบรรยากาศองค์กรที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กร คุณภาพการให้บริการและความพึงพอใจของลูกค้าต่อพนักงาน. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
อาริญา เฮงทวีทรัพย์สิริ. (2558). ความผูกพันต่อองค์กร บุคลิกภาพห้าองค์ประกอบและความสุขใน การทำงานของพยาบาล โดยมีพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรเป็นตัวแปรสื่อ. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Adenike, A., (2011). Organizational climate as a predictor of employee job satisfaction: Evidence from Covenant University. Business Intelligence Journal, 4(1), 151-165.
Andrew, O. C., & Sofian, S. (2012). Individual factors and work outcomes of employee engagement. Procedia-Social and Behavioral Sciences, 40, 498-508.
Branson, C. M. (2008). Achieving organizational change through value alignment. Journal of Educational Administration, 46(3), 376-395.
Dalal, R. S., Baysinger, M., Brummel, B. J., & LeBreton, J. M. (2012). The relative importance of employee engagement, other job attitudes and trait affect as predictors of job performance. Journal of Applied Social Psychology, 42(S1), 295-325.
Franco, M., & Franco, S. (2017). Organizational commitment in family SMEs and its influence on contextual performance. Team Performance Management: An International Journal, 23(7), 364-384.
Goodman, S. A., & Svyantek, D. J. (1999). Person-organization fit and contextual performance: Do share values matter. Journal of Vocational Behavior, 55(2), 254–275.
Gray, R. (2007). A climate of success: Creating the right organization climate for high performance. Amsterdam: Elsevier/Butterworth-Heinemann.
Hair, J. F., Black, W. C., Bain, B. J., Anderson, R. E., & Tatham, R. L. (2006). Multivariate data analysis (6th ed.). Upper Saddle River. NJ: Pearson Education International.
Li, P. Y., & Mahadevan, A. (2017). A study on the impact of organizational climate on employee performance in a Malaysian consultancy. International Journal of Accounting & Business Management, 5(1), 1-13.
Litwin, G. H., & Stringer, R. A. (1968). Motivation and organizational climate. Boston: Harvard University Press.
Marsh, H. W., & Hocevar, D. (1985). Application of confirmatory factor analysis to the study of self-concept: First- and higher order factor models and their invariance across groups. Psychological Bulletin, 97(3), 562-582.
Meyer, J. P., & Allen, N. J. (1991). A three-component conceptualization of organizational commitment. Human Resource Management Review, 1(1), 61-89.
Nazir, O., & Islam, J. U. (2017). Enhancing organizational commitment and employee performance through employee engagement: An empirical check. South Asian Journal of Business Studies, 6(1), 98-114.
Otieno, B. B. A., Waiganjo, E. W., & Njeru, A. (2015). Effect of employee engagement on organization performance in Kenya’s horticultural sector. International Journal of Business Administration, 6(2), 77-85.
Pradhan, R. K., & Jena, L. K. (2017). Employee performance at workplace: Conceptual model and empirical validation. Business Perspectives and Research, 5(1), 1-17.
Sarbessa, B. (2014). Organizational climate and employees’ organizational commitment: A case study of commercial bank of Ethiopia. M.B.A. Thesis, Addis Ababa University, Ethiopia.
Seyyedmoharrami, I., Dehaghi, B.F., Abbaspour, S., Zandi, A., Tatari, M., Teimori, G., & Torbati, A.G. (2019). The relationship between organizational climate, organizational commitment and job burnout: Case study among employees of the University of Medical Sciences. Open Public Health Journal, 12(1), 94-100.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์จะเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารธุรกิจปริทัศน์
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ และคณาจารย์ท่านอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใด ๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว