Interpersonal Communication: Using Social Messaging as a Communication Channel to Reduce Task Conflict and Enhance Team’s Cooperation for Organizations
Main Article Content
Abstract
Social Messaging (SM) such as Line application is very popular in everyday conversations among Thai people. SM has also been used as a main channel for interpersonal communication in organizations to enhance the team’s collaboration and reduce task confl ict between employees. The objective of this article is to explain the effi cacy of SM and how it is used as an internal communication tool among employees in organizations. This article employed Media Richness Theory and Social Presence Theory as a framework to explain this phenomenon. Since SM has richer richness and can deliver social cues more than traditional media such as e-mail and instant messaging, it could assist in reducing task confl ict and generate better team’s cooperation for organizations.
การใช้ “โซเชียล แมสเสจจิง” ในการสื่อสารเพื่อสร้างความร่วมมือและจัดการความขัดแย้งระหว่างบุคคลในองค์กร
สื่อโซเชียล แมสเสจจิง เช่น แอปพลิเคชันไลน์ กำลังได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในสังคมไทย ความนิยมนี้ยังปรากฏให้เห็นอยู่ในบริบทของการติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคลในองค์กร ด้วยสมรรถภาพของสื่อโซเชียล แมสเสจจิงที่สามารถช่วยให้พนักงานทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น อีกทั้งยังช่วยลดข้อจำกัดเรื่องของเวลาและสถานที่ทำงาน บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายสมรรถภาพของสื่อโซเชียล แมสเสจจิงในการสื่อสารเพื่อสร้างความร่วมมือในการทำงานและจัดการความขัดแย้งในบริบทของการสื่อสารระหว่างบุคคลในองค์กร ผู้เขียนได้ใช้ทฤษฎี Media Richness และ Social Presence เป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา ซึ่งผู้เขียนมองว่าโซเชียล แมสเสจจิงสามารถให้สมรรถภาพการสื่อสาร ให้คิวหรือสัญญาณ และยังสามารถนำเสนอตัวตนต่อสังคม ในลักษณะที่สื่อดั้งเดิมอย่างอีเมลและอินสแตนท์ แมสเสจจิงไม่สามารถให้ได้ โดยโซเชียล แมสเสจจิงจะช่วยลดความขัดแย้งระหว่างบุคคล และนำไปสู่ระดับความร่วมมือในการทำงานที่มากขึ้น และส่งผลให้องค์กรสามารถบรรลุผลเป้าหมายได้ตามที่ตั้งไว้
Article Details
The manuscript submitted for publication must be the original version, submitted only to this particular journal with no prior acceptance for publication elsewhere in other academic journals. The manuscript must also not violate the copyright issue by means of plagiarism.