A Comparative Study on Lexical and Semantic Changes of Buddhist Chinese Idiomatic Expressions and Thai Idiomatic Expressions with Similar Meanings การศึกษาเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของคำและความหมายของสำนวนจีนทางพุทธศาสนากับสำนวนไทยที่มีความหมายใกล้เคียงกัน
Main Article Content
Abstract
The study of lexical and semantic changes of Buddhist Chinese idiomatic expressions and Thai idiomatic expressions with similar meanings indicates Buddhist doctrines and values of Chinese and Thai people in different periods, including factors that cause occurrences and changes of idiomatic expressions. The article aims to do a comparative study of Chinese idiomatic expressions which have been influenced by Buddhism and Thai idiomatic expressions, the latter being both related and unrelated to Buddhism, analyzing the ways of comparison on lexical and semantic changes in Chinese and Thai idiomatic expressions. The comparison showed that the changes in 239 Chinese idiomatic expressions influenced by Buddhism and Thai idiomatic expressions could be divided into 2 distinct categories: lexical changes and semantic changes. The lexical changes could be divided into 4 types: homophones, synonyms, similar comparisons, and word orders. The semantic changes could be separated into 4 groups: new meanings, opposite meanings, narrowing meanings, and broadening meanings. In conclusion, the lexical and semantic changes in Buddhist Chinese idiomatic expressions and Thai idiomatic expressions with similar meanings depend on cultural characteristics or environmental factors in the society. Therefore, idiomatic expressions have new structures or new semantic changes according to things or factors in society.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผลงานทางวิชาการที่ลงตีพิมพ์ในวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นลิขสิทธิ์ของผู้เขียนหรือผู้แปลผลงานนั้น หากนำลงในวารสารจีนศึกษาเป็นครั้งแรก เจ้าของผลงานสามารถนำไปตีพิมพ์ซ้ำในวารสารหรือหนังสืออื่นได้โดยมิต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า แต่หากผลงานที่ได้รับพิจารณานำลงในวารสารจีนศึกษา เป็นผลงานที่เคยตีพิมพ์ที่อื่นมาก่อนเจ้าของผลงานต้องจัดการเรื่องปัญหาลิขสิทธิ์กับแหล่งพิมพ์แรกเอง หากเกิดปัญหาทางกฎหมาย ถือว่าไม่อยู่ในความรับผิดชอบของวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทั้งนี้ ความคิดเห็นต่างๆ ในบทความเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่เกี่ยวกับกองบรรณาธิการวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
References
ไขสิริ ปราโมช ณ อยุธยา. 2540. การเปลี่ยนแปลงถ้อยคำและความหมายของสำนวนไทย. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จิราภรณ์ ภัทราภานุภัทร. 2525. ถ้อยคำที่ใช้เป็นสำนวนในภาษาไทย. ใน ตรีศิลป์ บุญขจร, ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต และ พรทิพย์ พุกผาสุข (บรรณาธิการ), อักษรศาสตรนิพนธ์ 2 : รวมบทความทางภาษาและวรรณคดีไทย, หน้า 87–118. กรุงเทพมหานคร: คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสมาคมนิสิตเก่าอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราช สุดาฯ สยามบรมราชกุมารี.
เธียรชัย เอี่ยมวรเมธ. 2552. พจนานุกรมจีน – ไทย ฉบับใหม่ (ฉบับพิมพ์หนังสือตัวย่อ). พิมพ์ครั้งที่ 23. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์รวมสาส์น.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). 2553. พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ (ชำระ–เพิ่มเติม ช่วงที่ 1 / เสริม). พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพมหานคร: ธนธัชการพิมพ์. (จัดพิมพ์โดยมูลนิธิการศึกษาเพื่อสันติภาพ พระธรรมปิฎก [ป. อ. ปยุตฺโต] เพื่อเผยแพร่และดำเนินกิจกรรมของมูลนิธิฯ).
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). 2553. พุทธธรรม (ฉบับเดิม). พิมพ์ครั้งที่ 25. นนทบุรี: โรงพิมพ์เพิ่มทรัพย์การพิมพ์. (จัดพิมพ์โดยมูลนิธิการศึกษาเพื่อสันติภาพ พระธรรมปิฎก [ป. อ. ปยุตฺโต] เพื่อเผยแพร่และดำเนินกิจกรรมของมูลนิธิฯ).
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). 2555. พระพุทธศาสนาในอาเซีย. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์พระพุทธศาสนาของธรรมสภา. (สถาบันบันลือธรรมจัดพิมพ์เพื่อเผยแพร่พระพุทธศาสนา ฉลองพุทธชยันตี 2,600 ปีแห่งการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า).
ราชบัณฑิตยสถาน. 2556. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ศิริวัฒนาอินเตอร์พริ้นท์.
วิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์), ขุน. 2538. สำนวนไทย. กรุงเทพมหานคร: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย–ญี่ปุ่น).
วิทยาลัยภาษาจีนปักกิ่ง, มหาวิทยาลัยครูหนานจิง, มหาวิทยาลัยครูอันฮุย. 2550. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัฒนธรรมประเทศจีน. แปลโดย Chanon Suttaveekul และคนอื่นๆ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์สุขภาพใจ.
ศึกษาธิการ, กระทรวง. กรมวิชาการ. ศูนย์พัฒนาหนังสือ. 2545. สำนวนไทย. หนังสืออ้างอิงระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
เสฐียร พันธรังษี. 2534. ศาสนาเปรียบเทียบ. ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ ศาสตราจารย์พิเศษ เสฐียร พันธรังสี ราชบัณฑิต วัดสระเกศราชวรมหา วิหาร 25 กันยายน พ.ศ. 2534).
อภิชัย โพธิ์ประสิทธิ์ศาสต์. 2551. พระพุทธศาสนามหายาน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เอกรัตน์ อุดมพร. 2554. 5,000 สำนวนไทย: นับแต่อดีตจวบจนปัจจุบัน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา (พัฒนาศึกษา).
Chen Guansheng and Li Peizhu (陈观胜和李培茱). 2005. 中英佛教词典. Beijing: Foreign Languages Press.
Chen Yudong (陈聿东). 2005. 佛教文化百科. 2nded. 文史工具书系列. 天津: 天津人民出版社.
Cheng Gang (程刚). 2001. 佛教入门. 2nd ed. 北京: 宗教文化出版社.
He Rong (何蓉). 2010. 从成语看佛教对中国社会生活的影响. 咸宁学院学报. 30 (8) (August).
He Yongqing (何永清). 2005. 成语的语法与修辞及其教学探究. 台北市立师范学院学报.36 (1) (May): 1-24.
Jiang Dongyuan (蒋栋元). 2005. 梵汉文化的合璧--试析汉语佛教成语的一个构成特征.中国矿业大学学报(社会科学版). (1) (March): 124-127.
Li Mingqin (李明琴). 2003. 隐喻与文化之间的关系.平原大学学报. 20(4) (November): 48-49.
Ma Guofan (马国凡). 1998. 成语. 3rded. 熟语丛书. 内蒙古: 内蒙古人民出版社.
Ren Jiyu (任继愈). 2002. 佛教大辞典. 江苏: 江苏古籍出版社.
Wang Xingguo (王兴国). 2011. 汉语成语大辞典. 北京: 华语教学出版社.
Zhu Ruimin (朱瑞玟). 2006. 佛教成语. 绘图本通俗佛学丛书. 上海: 汉语大词典出版社.