A Study of Translation Strategies and Errors in Translating Cultural Words and Phrases from Thai to Chinese in “Rang Zong” Movie Subtitles การศึกษากลวิธีการแปลและข้อผิดพลาดในการแปลคำและวลีทางวัฒนธรรมจากภาษาไทยเป็นภาษาจีนที่ปรากฏในบทบรรยายใต้ภาพในภาพยนตร์เรื่อง “ร่างทรง”
Main Article Content
Abstract
This research aimed to study the translation strategies and errors in translating cultural words and phrases from Thai to Chinese in “Rang Zong” movie subtitles by collecting all cultural words and phrases subtitled throughout the movie and divided into three issues. The findings revealed as follows. First, the cultural words in the movie subtitles were related to five categories: 1) ecology and the environment, 2) object, 3) society, 4) religion, and 5) language. Second, the translation strategies were classified into seven strategies: 1) using borrowed words, 2) using broader meaning words than the original, 3) using terminology, 4) substituting with words in destination culture, 5) explaining, 6) omitting, and 7) using literal translation. Third, the errors found in the translation were classified into three categories: 1) mistranslation, 2) over-translation, and 3) inappropriate word choices. The study can be concluded that the translators need to study the information when translating the cultural words and phrases as well as to prepare cultural knowledge and understanding of the original and destination languages to avoid misinterpretation.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผลงานทางวิชาการที่ลงตีพิมพ์ในวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นลิขสิทธิ์ของผู้เขียนหรือผู้แปลผลงานนั้น หากนำลงในวารสารจีนศึกษาเป็นครั้งแรก เจ้าของผลงานสามารถนำไปตีพิมพ์ซ้ำในวารสารหรือหนังสืออื่นได้โดยมิต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า แต่หากผลงานที่ได้รับพิจารณานำลงในวารสารจีนศึกษา เป็นผลงานที่เคยตีพิมพ์ที่อื่นมาก่อนเจ้าของผลงานต้องจัดการเรื่องปัญหาลิขสิทธิ์กับแหล่งพิมพ์แรกเอง หากเกิดปัญหาทางกฎหมาย ถือว่าไม่อยู่ในความรับผิดชอบของวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทั้งนี้ ความคิดเห็นต่างๆ ในบทความเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่เกี่ยวกับกองบรรณาธิการวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
References
กนกพร นุ่มทอง. (2563). ทักษะการแปลภาษาจีนเป็นภาษาไทย. ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพฯ.
กนกพร นุ่มทอง, และศิริวรรณ ลิขิตเจริญธรรม. (2562). (2562, กรกฎาคม – ธันวาคม). หลักและข้อระวังในการแปลจีน - ไทย ไทย - จีน. วารสารจีนศึกษ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 12(2), 105-151.
กัลยาณี กฤตโตปการกิจ. (2563). กลวิธีการแปลชื่อภาพยนตร์ไทยสยองขวัญเป็นภาษาจีน. Rajabhat Journal of Science, Humanities and Social Science ปีที่ 21 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม–ธันวาคม.
จินดาพร พินพงทรัพย์. (2561). กลวิธีการตั้งชื่อภาพยนตร์ไทยเป็นภาษาจีน. Veridian E – Journal, Silapakorn University ฉบับภาษาไทย มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และ ศิลปะ มหาวิทยาลัยศิลปกร ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน – ธันวาคม.
ดวงตา สุพล. (2545). ทฤษฎีและกลวิธีการแปล. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เธียรชัย เอี่ยมวรเมธ. (2554). พจนานุกรมจีน - ไทย ฉบับใหม่ พ.ศ. 2554. กรุงเทพฯ :
รวมสาส์น.
เนตรน้ำทิพย์ บุดดาวงศ์, และศรัณธร สุระหาร. (2564) การศึกษากลวิธีการแปลชื่ออาหาร
ไทยเป็นจีน : กรณีศึกษา ร้านอาหารไทยในนครเฉิงตู สาธารณรัฐประชาชนจีน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน.
บุรินทร์ ศรีสมถวิล. (2563). การก้าว “ไม่” ข้ามความเป็นอื่นด้านภาษาในคำบรรยายใต้ภาพภาษาจีนซีรีส์เรื่อง “เกียร์สีขาวกับกาวน์สีฝุ่น”. วารสารจีนศึกษมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม.
ประภาศรี สีหอำไพ. (2550). วัฒนธรรมทางภาษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปิติภัทร บิลเต๊ะ, มุกข์ดา สุขธาราจาร, และนภาศรี ทิมแย้ม. (2564). กลวิธีการแปลคำศัพท์ทางวัฒนธรรมจากคู่มือการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. วารสารวจนะ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม.
เยาวลักษณ์ ศรีวิเชียร, และจิราพร เนตรสมบัติผล. (2563). กลวิธีการแปลชื่อซีรีส์จีนในแอปพลิเคชัน WeTv เป็นภาษาไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม - ธันวาคม.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2554). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://dictionary.orst.go.th.
วราพัชร ชาลีกุล. (2560). กลวิธีการแปลคำทางวัฒนธรรมจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษกรณีศึกษาเรื่องเรื่องของจัน ดารา แต่งโดย อุษณา เพลิงธรรม. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วัลภา เออร์วาย. (2541). การแปลบทภาพยนตร์และบทโทรทัศน์ : Movies and television script translation. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
สิทธา พินิจภูวดล. (2543). คู่มือนักแปลอาชีพ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : นานมีบุคส์.
สัญฉวี สายบัว. (2542). หลักการแปล (พิมพ์ครั้งที่7). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ .
สัญฉวี สายบัว. (2550). หลักการแปล. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุพรรณี ปิ่นมณี. (2554). การแปลขั้นสูง. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
โสพิศลดา แสงตระการกิจ. (2560). กลวิธีการแปลสำนวนใบบทบรรยายภาพยนตร์ภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย กรณีศึกษาเรื่อง The Social Network. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ : มหาวิทยาลัยบูรพา.
อธิษา งามศรี. (2560). กลวิธีการแปลคำและวลีทางวัฒนธรรมที่พบในบทแปลจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ กรณีศึกษาหนังสือเรื่อง “ครูบ้านนอก” โดย คำหมาน คนไค. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เอกชัย แสงจันทร์ทะบุ. (2563). กลวิธีการแปลชื่อละครและซีรีส์ไทยเป็นภาษาจีน. วารสารมนุษยศาสตร์สาร ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – เมษายน.
อัจฉรา ไล่สัตรูไกล. (2542). จุดมุ่งหมาย หลักการ และวิธีแปล: Nature and methods of translation.เข้าถึงได้จาก http://e-book.ram.edu/e-book/e/en322/
Jun Yunjia. (2561). การวิเคราะห์กลวิธีการแปลบทภาพยนตร์จากจีนเป็นภาษาอังกฤษ กรณีศึกษาเรื่อง THE EMPRESSES IN THE PALACE (ราชวงศ์เฉินฮ่วน). วารสารสังคมศาสตร์วิชาการ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม - มิถุนายน.
Newmark, P. (1982). Approached to Translation. Oxford: Pergamon Press.
_______, P. (1995). A Textbook of Translation. London: Phoenix ELT.
Nida, E. A. (1964). Toward a Science Translating. Leiden: E.J. Brill.