The writer’s worldview and reflections on Chinese society in the “Loneliness and Warmth” short story of Wang Zengqi โลกทัศน์ของนักเขียนและภาพสะท้อนสังคมจีนในเรื่องสั้น “ความเหงาและความอบอุ่น”《寂寞和温暖》ของวังเจิงฉี (汪曾祺)
Main Article Content
Abstract
This article aims to analyze and interpret the writer’s worldview and reflection on Chinese society in the “Loneliness and Warmth” short story of Wang Zengqi. The results of the study found that the writer's worldview reflected through the world of the protagonist, Shen Yuan, and colleagues at the Agricultural Science Research Institute to be more understanding the truth of things, the truth of life and opportunities of life. It is also related to the theme that presents the concept of the truth of life and facing life's problems with consciousness and calmness. In addition, the experience feelings and behaviors of the characters including the scene and atmosphere that occurred in the research institutes and the changing social conditions to reflect important political events during the period 1951-1962, whether it is Land Reform, Anti-Rightist Campaign or Great Leap Forward policy as well as reflecting some problems of Chinese society, these include corruption and abuse of power by officials in the Communist Party of China, agricultural product problems and the problem of violating women's rights as well. It can be said that the “Loneliness and Warmth” by Wang Zengqi is considered a “review literature” with a simple storytelling style, but presents a viewpoint that will make readers think deeply.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ผลงานทางวิชาการที่ลงตีพิมพ์ในวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นลิขสิทธิ์ของผู้เขียนหรือผู้แปลผลงานนั้น หากนำลงในวารสารจีนศึกษาเป็นครั้งแรก เจ้าของผลงานสามารถนำไปตีพิมพ์ซ้ำในวารสารหรือหนังสืออื่นได้โดยมิต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า แต่หากผลงานที่ได้รับพิจารณานำลงในวารสารจีนศึกษา เป็นผลงานที่เคยตีพิมพ์ที่อื่นมาก่อนเจ้าของผลงานต้องจัดการเรื่องปัญหาลิขสิทธิ์กับแหล่งพิมพ์แรกเอง หากเกิดปัญหาทางกฎหมาย ถือว่าไม่อยู่ในความรับผิดชอบของวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทั้งนี้ ความคิดเห็นต่างๆ ในบทความเป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่เกี่ยวกับกองบรรณาธิการวารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
References
เกศินี จุฑาวิจิตร. (2550). “มอง” เรื่องให้ “เห็น” ภาพ: ภาพสะท้อนสังคมและโลกทัศน์ของนักเขียนจากเรื่องสั้น
ยุควิกฤติเศรษฐกิจ. นครปฐม : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.
คณะกรรมการสืบค้นประวัติศาสตร์ไทยในเอกสารภาษาจีน สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. (2543). เกณฑ์การถ่ายถอด
เสียงภาษาจีนแมนดารินด้วยอักขรวิธีไทย. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
โชติช่วง นาดอน. (2549). ปราชญ์จีนเรียกร้องฟ้า. <https://www.mgronline.com>. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม
นฤมิตร สอดศุข. (2551). “ผีเสื้อ” และ “เมฆหินน้ำไหล” : นวนิยายฉายภาพเปรียบสังคมจีน “ยุคปฏิวัติวัฒนธรรม” กับ “ยุคสี่ทันสมัย.” วารสารเอเชียตะวันออกศึกษา, 13(1) เดือนเมษายน-สิงหาคม, 115-134.
นิธิพันธ์ วิประวิทย์. (2562). จวงจื่อ-เสรีนิยมฉบับจีนโบราณ. <https://posttoday.com>. สืบค้นเมื่อวันที่ 17 กรกฎาคม 2564.
ปรียากร บุญธรรม. (2564). ผลงานนวนิยายของนักประพันธ์หญิงชาวจีนที่มีการเผยแพร่ในประเทศไทยในปี 1996-
วารสารจีนศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 14(2) เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม, 1-35.
ราชบัณฑิตยสภา. (2550). โลกทัศน์ (บทวิทยุรายการ “รู้ รัก ภาษาไทย” ออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่ง
ประเทศไทย เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม). <http://legacy.orst.go.th/?knowledges=โลกทัศน์-๑๐-กรกฎาคม-๒๕๕๐>. สืบค้นเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2564.
รายวิชา EC396 ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของสาธารณรัฐประชาชนจีน. บทที่ 5 การแปลงรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ: ภาค
การเกษตร. <http://old-book.ru.ac.th>. สืบค้นเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2564.
รายวิชา PS335 การเมืองในประเทศคอมมิวนิสต์. บทที่ 3 พรรคคอมมิวนิสต์จีน. <http://old-book.ru.ac.th>. สืบค้น เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2564.
สมบัติ บุญคำเยือง. (2560). การปฏิรูประบบเศรษฐกิจและสังคมชนบทของประเทศจีนในทศวรรษ 1980. วารสาร
สังคมศาสตร์วิชาการ, 10(3), เดือนกันยายน-ธันวาคม, 217-236.
MATIN. (2018). 随遇而安吧. <https://m.douban.com> สืบค้นเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2564.
Mitter, Rana. (2019). ประวัติศาสตร์จีนสมัยใหม่ A Bitter Revolution: China's Struggle with the Modern
World. สุทธิมาน ลิมปนุสรณ์ ผู้แปล. กรุงเทพฯ : บุ๊คสเคป.
The States Times. (2564). ฝันให้ไกลแล้วไปให้ถึง ‘จีน’ กับเส้นทางสู่อวกาศที่เริ่มต้นจาก ‘คำดูถูก.’
<https://thestatestimes.com>. สืบค้นเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2564.
反思文学 (文学类型) . (2022). <https://baike.sogou.com/v23446.htm>. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2565.
澎湃新闻. (2021). 二十卷《汪曾祺别集》: “人间送小温” 之外的激荡与丰沛.
<https://m.sohu.com>. สืบค้นเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2564.
王小惠. (2019). 汪曾祺的 “内伤痕” ——细读《寂寞与温暖》和《云致秋行状》.<https://www.sohu.com/a/313958829_816900>. สืบค้นเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2564.
汪曾祺. (2017).《寂寞和温暖 : 汪曾祺小说选集》. 北京 : 九州出版社.
知乎专栏. (2021). 汪曾祺: “奶奶不是一下饿死的,是一点点饿死的. ”<https://zhuanlan.zhihu.com>. สืบค้นเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2564.