Location changes and Inheritance of Chinese culture in Chinese shrines: Case Studies of Chinese shrines in Mueang Surat Thani District การเปลี่ยนแปลงของตำแหน่งที่ตั้งและการสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีจีนที่ปรากฏในศาลเจ้าจีน : กรณีศึกษาศาลเจ้าจีนในอำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี

Main Article Content

A-thipat Nitnara
Siriwan Likhidcharoentham

Abstract

This research aimed to study the history and location changes of Chinese shrines, including their locations, the preservation of Chinese cultural traditions, and their social welfare roles in Surat Thani's urban society. The findings reveal that Chinese shrines in Surat Thani district have evolved over time, with changes in their number, location, and architectural features through various renovations. The history and location changes can be divided into two periods: before and after B.E. 2500 (1957 CE). The construction periods align with three phases of the Rattanakosin era: early, middle, and present. Currently, there are 13 Chinese shrines in Surat Thani district: 10 are open for worship and visitation, while three are neglected and no longer provide charitable services. Of these 13 shrines, three remain at their original locations and were registered under the Local Administration Act B.E. 2475 (1932 CE). Three others were relocated due to government land expropriation, land purchases, or donations, while seven new shrines were established between B.E. 2543-2557 (2000-2014 CE). The current locations are clustered in the old town community area, providing convenient access for worship, religious ceremonies, and Chinese cultural activities. These Chinese shrines serve not only as spiritual anchors for Thai-Chinese people but also stand as symbols of Chinese architectural art, centers for preserving Chinese cultural traditions, and hubs for community support services.

Article Details

Section
Articles

References

กองยุทธศาสตร์และงบประมาณ. (2561). คู่มือ 5 ศาลเจ้า 9 วัด. http://www.suratcity.go.th/web/index.php/th/ menu-public-relations-mini-th/sub-menu-02-media-mini-th/sub-orther-media-mini-th/48-art-manual-travel-for-5shrine-and-9-temple-thth

ขวัญดาว มาอยู่. (2563). เทศกาลหยวนเซียว (โคมไฟ). วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 3(1), 68-81. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/human_dru/article/view/251369/169287 คณะกรรมการปฏิบัติงานเกี่ยวกับกิจการศาลเจ้า กรมการปกครอง. (ม.ป.ป.). ทำเนียบทะเบียนศาลเจ้าทั่วราชอาณาจักร. เดอะ สยาม เฮอริเทจ.

คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. (2544). วัฒนธรรมพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดสุราษฎร์ธานี. โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

งานส่งเสริมการท่องเที่ยว เทศบาลนครสุราษฎร์ธานีและการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักงานสุราษฎร์ธานี. (2559). คู่มือ 5 ศาลเจ้า 9 วัด. ห้างหุ้นส่วนจำกัด สุราษฎร์ทูเดย์.

จังหวัดสุราษฎร์ธานี. (2527). สุราษฎร์ธานี. กรุงสยามการพิมพ์.

ชวน เพชรแก้ว. (2548). ชาวไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี [รายงานวิจัย]. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

ต้วนลี่เซิง และ บุญยิ่ง ไร่สุขสิริ. (2543). ความเป็นมาของวัดจีนและศาลเจ้าจีนในประเทศไทย. เรือแก้วการพิมพ์.

เธียรชัย เอี่ยมวรเมธ. (2546). ศัพทานุกรมจีน-ไทยฉบับซินหัว (ฉบับค้นศัพท์ตามหมวดนำ). อักษรพิทยา.

นรา พงษ์พานิช, กนกกาญจน์ เมืองแก้วและจารึก อุปลา. (2561). การบริหารจัดการมรดกทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นชาวจีนไหหลำ ณ บ้านเกาะแรต อำเภอดอนสัก จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์ วิทยาลัยสงฆ์พุทธปัญญาศรีทวารวดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 8(3), 287-302. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmbr/article/view/260717/179168

มูลนิธิกุศลศรัทธาสุราษฎร์ธานี. (2558). ฉลองครบรอบ 50 ปี และพิธีเปิดอาคารใหม่. ห้างหุ้นส่วนจำกัด เวิร์ครูม ครีเอชั่น.

มูลนิธิมุทธิตาจิตธรรมสถาน สุราษฎร์ธานี. (2555). อัลบั้มรูปภาพ.https://www.facebook.com/muthitajit.suratthani/photos

มูลนิธิมุทธิตาจิตธรรมสถาน สุราษฎร์ธานี. (2564). ประวัติศาลเจ้าองค์โป๊ยเซียนโจวซือ มูลนิธิ มุทธิตาจิตธรรมสถาน. ม.ป.ท.

ศาลเจ้าฮกเกี้ยนสุราษฎร์ธานี. (2564). ประวัติศาลเจ้าฮกเกี้ยนสุราษฎร์ธานี. ม.ป.ท.

ศาลเจ้าอู่ตี้แป๊ะกงสุราษฎร์ธานี. (2562). พิธีเปิดศาลเจ้าอู่ตี้แป๊ะกงหลังใหม่. ม.ป.ท.

ศูนย์ข้อมูลเกาะรัตนโกสินทร์ หอสมุดวังท่าพระ. (2558). ศาลหลักเมืองกรุงเทพมหานคร. http://www.resource.lib. su.ac.th/rattanakosin/index.php/2014-10-27-08-52-05/2014-10-29-02-26-23/2019-04-18-06-55-30/2019-04-18-04-44-11

ศูนย์ข้อมูลสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จังหวัดสุราษฎร์ธานี. (2564). คำสั่งจังหวัดสุราษฎร์ธานี (ฉบับที่ 69) ลว. 4 ต.ค. 64 (มาตรการบังคับใช้ช่วงเทศกาลถือศีลกินเจ). https://www.suratthani. go.th/covid19/document/order/p_no_69.pdf

สมาคมไหหลำสุราษฎร์ธานี. (2552). การประชุมสันนิบาตองค์กรชาวไหหลำภาคใต้ ครั้งที่ 41. ม.ป.ท.

สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์. (2559). เจ้าพ่อเขาตก: เทพารักษ์ไทยที่กลายเป็นเทพเจ้าจีน. วารสารเอเชียตะวันออกศึกษา, 20(2), 1-21. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/easttu/article/view/82706/65713

อชิรัชญ์ ไชยพจน์พานิช. (2561). ศาลเจ้าจีนในกรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ: มติชน.