Teacher Media Literacy: Factor or Condition of Problem and Development Approach

Main Article Content

metta sawanglap

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยหรือเงื่อนไขที่เป็นสาเหตุการรู้เท่าทันสื่อของครู                     2) สร้างแนวทางพัฒนาการรู้เท่าทันสื่อของครู 3) ตรวจสอบความเป็นไปได้และความเหมาะสมของแนวทางที่สร้างขึ้น  โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสาน มีขั้นตอนการวิจัย ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาปัจจัยหรือเงื่อนไขที่เป็นสาเหตุการรู้เท่าทันสื่อของครูด้วยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ จากการสังเคราะห์เอกสารและการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกครู 3 คน และใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณในการทดสอบโมเดลเชิงสมมุติฐาน เพื่อศึกษาปัจจัยหรือเงื่อนไขการรู้เท่าทันสื่อของครู ด้วยการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง (Structural Equation Model: SEM) ขั้นตอนที่ 2 คัดเลือกปัจจัยหรือเงื่อนไขการรู้เท่าทันสื่อของครูจากผลการวิเคราะห์ขั้นตอนที่ 1 มาดำเนินการร่างแนวทางพัฒนาการรู้เท่าทันสื่อของครู ร่วมกับการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 7 คน จากนั้นตรวจสอบความเป็นไปได้ (feasibility) และความเหมาะสม (propriety) ของแนวทาง จากผลการวิจัย พบว่า 1) ปัจจัยหรือเงื่อนไขที่เป็นสาเหตุการรู้เท่าทันสื่อของครู ประกอบด้วย ตัวแปรแฝง 6 ตัว และการรู้เท่าทันสื่อของครู 1 ตัวโดยผลการตรวจสอบโมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ดังนี้ Chi-square = 170.92, df = 146, p-value = 0.08, GFI = 0.98, AGFI = 0.96, RMR = 0.031, RMSAE = 0.016  2) แนวทางพัฒนาการรู้เท่าทันสื่อของครู ประกอบด้วย 2.1) หลักการ 2.2) วัตถุประสงค์ของแนวทาง  2.3) องค์ประกอบการพัฒนา  2.4) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและบทบาท  2.5) วิธีการพัฒนา 2.6) การวัดและประเมินผล  2.7) ผลที่คาดว่าจะได้รับ 3) ผลการตรวจสอบแนวทางพัฒนาการรู้เท่าทันสื่อของครู พบว่ามีความเป็นไปได้ อยู่ในระดับมาก และความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด                                    

Article Details

Section
Research Articles
Author Biography

metta sawanglap, สาขาการบริหารการศึกษา Naresuan University มหาลัยนเรศวร

เมตตา  แสวงลาภ  ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านสุเม่น  ต.แม่สิน  อ.ศรีสัชนาลัย จ.สูโขทัย

References

กรุณา ภู่มะลิ, ทวีศิลป์ กุลนภาดล, ผดุงชัย ภู่พัฒน์ และนิวัตน์ น้อยมณี. (2557). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนขนาดเล็กในภายตะวันออก. วารสารบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์. 8(1), 158-172.

Karuna Poomali, Taweesil Koolnaphadol, Phadungchai Phupat and Niwat Noymanee. (2014).The Administrative Factors Affecting the Effectives of Small School in the Eastern Region. The Graduate Journal of Valaya Rajabhat University. 8(1), 158-172.

ซูรีนา เจ๊ะมะอูเซ็ง. (2554). บรรยากาศองค์การโรงเรียนประถมศึกษาตามทัศนะของครูโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาสเขต 3. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาลัยวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

Zurina Jaemauseng . (2011). Organizational Climate in Primary Schools as Perceived by Teachers in Primary Schools under the Jurisdiction of Narathiwat Primary Educational Service Area

Office III. Master of Education Thesis, Prince of Songkla University.

ณัฐนันท์ ศิริเจริญ. (2554). หลักการโฆษณา ประชาสัมพันธ์และการสื่อสารเพื่อการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ : บายฮาร์ท มีเดีย.

Nuttanan Siricharoen. (2011). Principles of public relations and communication for effective development. Bangkok: By Heart Media.

ถนอม บรรลุศิลป์. (2557). รูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการระดมทรัพยากรทางการศึกษาเพื่อพัฒนาประสิทธิผลโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ. 8(2), 1-12.

Thanorm Banlusin. (2014). The Model of Community Participation in Outsourcing of Educational Resources for Developing the Efficacy of Small-Size Schools under the Office of Primary Educational Service Ubonratchathani Area 1. Sisaket Rajabhat University Journal. 8(2),

- 12.

นนทสรวง กลีบผึ้ง. (2556) . รู้เท่าทันสื่อในเอกสารประกอบการประชุมสัมมนาการรู้เท่าทันสื่อ. กรุงเทพฯ: สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ.

Nnosuang Kreappuang. (2014). Knowing the media in the papers, media literacy conferences. Bangkok: Office of the National Broadcasting and Telecommunications Commission.

บุญเพิ่ม สอนภักดี, ฉลอง ชาตรูประชีวิน และสุกัญญา แช่มช้อย. (2559). รูปแบบเครือข่ายความร่วมมือเพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนใน สังกัดเทศบาล. วารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร. 18 (4), 99- 113.

Boonperm Sornpukde, Chalong Chatrupracheewin and Sukanya Chaemchoy. (2016). Model of a Collabolation Network for the Develpment of Educational Management of Mulnicipals Schools. Journal of Education Naresuan University. 18(4) , 99-113.

พนิดา ยมจันทร์. (2555). พฤติกรรมการเปิดรับ ทัศนคติและแนวโน้มพฤติกรรมของผู้อ่านหนังสือพิมพ์มติชนภายหลังการลาออกจากการหนังสือพิมพ์แห่งชาติของประชาชนในเขต กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Panida Yomchan (2012). Exposure behavior Attitude and behavior of the readers of Matichon newspaper. After the resignation of the national newspaper of people in the district Bangkok. Master's thesis, Thammasat University.

พรทิพย์ เย็นจะบก. (2552). ถอดรหัสลับความคิดเพื่อการรู้เท่าทันสื่อ: คู่มือการเรียนรู้เท่าทันสื่อ. กรุงเทพฯ:ปิ่นโต พับลิชชิ่ง .

Pornthip Yenjabok. (2009). Decrypting ideas for media literacy: A guide to media literacy. Bangkok:Pinto Publishing.

พรพิพัฒน์ ตั้งจิตรวัฒนากุล และสุกัญญา แช่มช้อย. (2560). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำแบบให้บริการของผู้บริหารสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา. สักทอง : วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (สทมส.). 23 (1), 38-54

Pornpipat Tangchitwattana and Sukanya Chaemchoy. (2017) Leadership Development Model of Service Providers of Secondary School Administrators. The Golden Teak : Humanity and Social

Science Journal (GTHJ.). 23 (1), 38-54

มูลนิธิอินเทอร์เน็ตร่วมพัฒนาไทย และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). (2557). ผุดครูแกนนำส่อง'ทันสื่อ 'ดูแล'โจ๋ไทย'แชร์-แชต-ถูกลวง. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม, 2557, จาก http://www.thairath.co.th/content/441478.

Internet Development Foundation of Thailand And the Office of the Health Promotion Fund (TSU). (2015) Keep up the good work. 'Take care' Thai 'share - chat - be cheated. Retrieved 20 August, 2015, from http://www.thairath.co.th/content/441478.

ราตรี บุราณสาร. (2551). ทรรศนะของผู้ปกครองต่อการจัดการศึกษาของโรงเรียนบ้านซับสนุ่นสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.

Ratree Buransan . (2008). The views of the parents on the educational Management of Ban Lop School Saraburi under Saraburi Educational Service Area Office 2. Master of Education

Thesis , Dusit Rajabhat University.

วารุณี ไชยทวีวิวัฒน์กุล. (2560). ทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21. สืบค้นเมื่อ 2 4 สิงหาคม, 2560,จาก http://www.acn.ac.th/articles/mod/forum/discuss.php?d=290

Warunee Chaitaweeviwatkul. (2017). 21st Century Learning Skills. Retrieved 24 August, 2017, from http://www.acn.ac.th/articles/mod/forum/discuss.php?d=290

สกุลกานต์ แก้วแสน. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการชมรายการเพื่อสุขภาพทางสถานีวิทยาโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต , มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

Skunkan Kaewsan. (2012) . Factors influencing health channel viewing on Army television station.Channel 5 of the people in Bangkok. Master of Business Administration, Rajamangala

University of Technology Thanyaburi.

สมศักดิ์ เอี่ยมดี. (2556). การพัฒนาระบบการบริหารเครือข่ายการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร. 15 (ฉบับพิเศษ), 216 -224.

Somsak Aiumdee. (2013). The Development of the Participative Education Networks System under

theManagement of Primary Educational Service Area Offices. Journal of Education Naresuan University. 15 (Special Edition), 216 -224.

สุคนธ์ สินธพานนท์. (2558). การจัดการเรียนรู้ของครูยุคใหม่เพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียน ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : เทคนิคพริ้นติ้ง.

Sukon Sinthapanon. (2015). A study of new-age teachers to develop 21st-century learners' skills.Bangkok: Printing Technique.

สุชานุช พันธนียะ. (2553). บรรยากาศองค์การที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการครู. วารสารวิทยบริการ. 21(2), 64-81.

Suthanuch Panthaneya. (2010). Organizational climate affecting the quality of working life of teacher. Civil servants Service. 21(2), 64-81.

สุธิดา บัวคีรี. (ม.ป.ป.). มุ่งมั่นในการทำงาน. สืบค้นเมื่อ 07 พฤษภาคม, 2560, จาก https://sites.google. com/site/31200sutidaaa/home/6-mung-man-ni-kar-thanganSuthida

Buakhiri. (MP.). Committed to work. Retrieved 07 May, 2560, from https://sites.google.Com /site /31200sutidaaa / home / 6-mung-manikin-thangan

อารีย์ พันธมณี. (2545). ฝึกให้คิดเป็น คิดให้สร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: ใยไหม.

Arree Phanthamanee. (2002). Practice to think Think creatively. Bangkok: Silk Fiber.

อุริษา งามวุฒิวร. (2553). การเปิดรับสื่อละครโทรทัศน์ การรู้เท่าทันสื่อ และความคิดเห็นต่อความนิยมทางเพศและการเลียนแบบพฤติกรรมชายรักชายของเยาวชนในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์นิเทศศาตรมหาบัณฑิต , จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

Urisa Ngamwutvon. (2010). Media awareness and perceived sexual desire and Mimicking male homosexual behavior among youth in Bangkok. Master of Communication Arts, Chulalongkorn University.

อุลิชษา ครุฑะเสน. (2556). แนวทางการพัฒนากระบวนการเรียนรู้เท่าทันสื่อของแกนนำเยาวชน. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 6(3), 276-285.

Ulyssa Kruthasen. (2513.) Guidelines for the development of media literacy learning process for Youth leaders. Academic journal Silpakorn University. 6(3), 276-285.

อุษา บิ้กกิ้นส์. (2554). การรู้เท่าทันสื่อ. สารนิพนธ์นิเทศศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

Ausa Biggin. (2011). Media Literacy. Bachelor's degree thesis, Dhurakij Pundit University.

Pena, D.C., (2000). Parent involvement: intlucecing factors and implications. Journal of Educational Research. 94(1), 42-54.

Potter, W, J. (2005). Media Literacy. Thousand Oaks: Sage.

Recepoglu, E., & Ergun, M. (2013). Analyzing Perceptions of Prospective Teachers About Their Media Literacy Competencies. Journal of Education. 134(1), 62-73.

Thayer. (2006). The Impact Of A Media Literacy Program On Critical Thinking And Writing In A High School TV Production Classroom. Retrieved November 19, 2015, from http:// books.google.co.th/books/about/ The_Impact_of_a_Media_Literacy_program_o.ht ml?id=yfX8-

feKUkC&redir_esc

UNESCO. (2008). Strategy framework for promoting ICT literacy in the Asia-Pacific region. Bangkok : UNESCO Bangkok.