การพัฒนากระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูผู้สอนโดยใช้ทักษะการคิดเป็นฐาน โรงเรียนชุมชนบ้านดง โรงเรียนทรายทองราษฎร์อุทิศ โรงเรียนชุมชนบ้านแม่สาบอำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่
Main Article Content
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูผู้สอนโดยใช้ทักษะการคิดเป็นฐานกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาครั้งนี้คือ ครูโรงเรียนชุมชนบ้านดงจำนวน 9 คนและนักเรียนโรงเรียนชุมชนบ้านดงจำนวน 84 คน ครูโรงเรียนทรายทองราษฎร์อุทิศจำนวน 14 คนและนักเรียนโรงเรียนทรายทองราษฎร์อุทิศจำนวน 137 คน ครูโรงเรียนชุมชนบ้านแม่สาบจำนวน 6 คนและนักเรียนโรงเรียนชุมชนบ้านแม่สาบ จำนวน 46 คน รวมจำนวนครูทั้งหมด 29 คน และรวมจำนวนนักเรียนทั้งหมด 267 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบบันทึกการสนทนากลุ่มแบบบันทึกการสัมภาษณ์แบบบันทึกการดำเนินงานแผนการจัดการเรียนรู้แบบประเมินผลการพัฒนาผู้เรียนครอบคลุมเนื้อหาการใช้ทักษะการคิดเป็นฐานผลการวิจัยพบว่าจากการเข้าไปส่งเสริมให้โรงเรียนใช้กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูผู้สอนโดยใช้ทักษะการคิดเป็นฐานนั้น ครูผู้สอนมีการพัฒนาเทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และสื่อการสอนโดยใช้ทักษะการคิดเป็นฐานได้อย่างเหมาะสม เพื่อพัฒนาทักษะที่จำเป็นสำหรับนักเรียนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตลอดจนเพื่อเป็นทักษะพื้นฐานให้นักเรียนนำไปต่อยอดความรู้ในระดับที่สูงขึ้นต่อไป
This research aims to develop the instructional process of teachers by using thinking-based skills. The target group included 9 teachers and 84 students of Chumchonbarndong school, 14 teachers and 137 students of Saithongratutis school, 6 teachers and 46 students of Chumchon ban mae sab school. The total number of teachers is 29 and total number of students is 267. The research instruments included a group discussion form, Interview form, report form, lesson plan and evaluation form covering contents of thinking-based learning skills. The research found that encouraged school to use the instructional process by using thinking-based skill; teachers have developed techniques for organizing instructional and instructional media and using appropriate thinking skills to develop the skills needed for students in each group. As well as being a basic skill for students are required to continue to gain knowledge at a higher level.
Article Details
1. Any views and comments in the FEU Academic Review Journal are the authors’ views. The editorial staff have not to agree with those views and it is not considered as the editorial’s responsibility.
2. The responsibility of content and draft check of each article belongs to each author. In case, there is any lawsuit about copyright infringement. It is considered as the authors’ sole responsibility.
3. The article copyright belonging to the authors and the Far Eastern University are copyrighted legally. Republication must be received direct permission from the authors and the Far Eastern University in written form.
References
Tisana Khammani. (2006). Thinking and Teaching to Develop Thinking Process. Bangkok: Office of the National Education Commission.
_________. (2557). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 18). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
_________. (2014). Pedagogy. Bangkok: Chulalongkorn University printing.
มลิวัลย์ สมศักดิ์. (2540). รูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาการ คิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนในโครงการขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
Maliwan Somsak. (1997). A model teaching to develop critical thinking of students in the project of expanding basic education. Ph.D. Dissertation, Department of research and curriculum development. Srinakhrinwirot University.
ลำดวน มุ่งทำดี. (2556) ปัจจัยที่ส่งผลต่อสัมฤทธิ์ผลทางการศึกษา ในโรงเรียนศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาสะเมิง 3 อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น.
Lamduan Mungthamdee. (2013). Factors Affecting Educational Outcome of Schools in Samoeng 3 Educational Quality Development Network Center, Samoeng District, Chiang Mai Province. Master of Education, Educational Administration. Far Eastern University.
วลัยพร เตชะสรพัศ และคณะ. (2558). รายงานการดำเนินโครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนา
ท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยงของเครือข่ายอุดมศึกษาภาคเหนือตอนบน : โรงเรียนบ้านวังลุง ตำบลหางดง อำเภอฮอด จังหวัดเชียงใหม่. ทุนสนับสนุนสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา . เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น.
Walaiporn Teachasoraphat et al. (2015). U-school Mentoring Project Report: BanWangLung school Hod Chiangmai. Office of the higher education commission. Chiangmai:
Fareastern University.
ศรเนตร อารีโสภณพิเชฐ. (2557). การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาโดยการเรียนรู้โดยใช้วิจัยเป็นฐานร่วมกับการใช้แผนที่มโนทัศน์. ทุนสนับสนุนจากโครงการวิจัยในชั้นเรียน ศูนย์นวัตกรรม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคการศึกษาปลาย 2554. (เอกสารอัดสำเนา). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Sornnate Areesophonpichet. (2014). Instructional Strategy for Develop Of Analytical Thinking Skills: The Concept Mapping. Research funded by Chulalongkorn University semester 2011. Bangkok: Chulalongkorn University.
สมชาย รัตนทองคำ . (2545). การพัฒนารูปแบบการสอน ที่เน้นกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สำหรับนักศึกษากายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร
ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
Somchai Rattanathongkom. (2002). The Development of an instructional model with the emphasis on critical thinking processes for physical therapy students, Khon
Kaen University. Ph.D. Dissertation, Department of Curriculum and Instruction. Khon Kaen University.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2547). การประชุมวิชาการ การวิจัยทางการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์และทำปกเจริญผล.
Office of the Education Council. (2004). Educational Administration Research Conference. Bangkok: Charoenpol printing.
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน) . (2556). บทสรุปผู้บริหาร. สืบค้นเมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2556, จาก https://www.onesqaor.the/onesqa/th/
Report/index.php.Bloom, Benjamin S. (1976). Human Characteristics and School Learning. New York: McGraw-Hill.
The Office for National Education Standards and Quality Assessment (Public Organization). (2013). Executive Summary. Retrieved May, 17, 2013 from
https://www.onesqaor.the/onesqa/th/Report/index.php.Bloom,Benjamin S. (1976). Human Characteristics and School Learning. New York: McGraw-Hill.
Dillon, J.T. (1984). Research on Questioning and Discussion. Educational Leadership, 42 (3), 50-56 : November.
Pollack, P.H. (1987). Foresting Critical Thinking. A Study of the Effects of Classroom Climate In a Gifted Program. Dissertation Abstracts International, 49 (9), April.