กระบวนการสร้างแบรนด์ “กรีนบัส” ของบริษัท ชัยพัฒนาขนส่งเชียงใหม่ จํากัด
Main Article Content
Abstract
งานวิจัยเรื่อง กระบวนการสร้างแบรนด์ของบริษัท ชัยพัฒนาขนส่งเชียงใหม่ จำกัด หรือ กรีนบัส มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเดินทางของลูกค้ารถโดยสารกรีนบัสและลูกค้าของรถโดยสารบริษัทอื่น กระบวนการสร้างแบรนด์ กรีนบัสและปัญหาในการสร้างแบรนด์ โดยเก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม การสนทนากลุ่มและการสัมภาษณ์เจาะลึก ผลการวิจัยพบว่า ลูกค้ากรีนบัสและลูกค้าของรถโดยสารบริษัทอื่น ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีอายุระหว่าง 21- 60 ปี เป็นนักศึกษาและผู้ประกอบธุรกิจส่วนตัว มีภูมิลำเนาอยู่ใน จ.เชียงใหม่ มักเดินทางในพื้นที่เขตจังหวัดภาคเหนือและ กรุงเทพฯ ส่วนกระบวนการสร้างแบรนด์กรีนบัส พบว่า สร้างแบรนด์ด้วยกิจกรรมต่างๆ ดังขั้นตอนต่อไปนี้ 1) การวาง ตำแหน่งตราสินค้า 2) การกำหนดเอกลักษณ์ 3) การสร้างการรับรู้แบรนด์ 4) การสร้างความชอบ และ 5) การสร้างความภัพดีต่อตราสินค้า ส่วนปัญหาของการสร้างแบรนด์กรีนบัส คือ การเป็นธุรกิจที่อยู่ภายใต้การควบคุมของ กรมการขนส่งทางบก ทำให้การสื่อสารการตลาดนั้นทำได้อย่างมีข้อจำกัด และขาดงบประมาณการฝึกอบรมด้าน การสร้างแบรนด์จากหน่วยงานภาครัฐ
The research of Brand Building Process of Chaipattana Transportation Co., Ltd. The research objectives were to explore: 1) demographic characteristics and travelling behavior of service and non-service users. 2) Branding Building Process and 3) problems encountered in brand building of the company. The following were data collection methods: 1) questionnaires 2) focus group discussion and 3) in-depth interview. Results of the study revealed that most of the informants who used the service were female, 21-60 years old, students and business owners. Their monthly income was 5,001-15,000 baht. The process of brand building consisted of 5 step: 1) brand positioning 2) brand personality 3) brand awareness 4) brand preference and 5) brand loyalty. For problems encountered in brand building, the following were found; limited market communication since this business was under the supervision of the Department of Land Transport; and lack of the training on brand building.
Article Details
1. Any views and comments in the FEU Academic Review Journal are the authors’ views. The editorial staff have not to agree with those views and it is not considered as the editorial’s responsibility.
2. The responsibility of content and draft check of each article belongs to each author. In case, there is any lawsuit about copyright infringement. It is considered as the authors’ sole responsibility.
3. The article copyright belonging to the authors and the Far Eastern University are copyrighted legally. Republication must be received direct permission from the authors and the Far Eastern University in written form.