การจัดการความรู้ของงานวิจัยในระดับอุดมศึกษา: กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

Main Article Content

ไพรพันธ์ ธนเลิศโศภิต
รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร

Abstract

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเ์พื่อนำเสนอแบบจำลองทางการจัดการความรูโ้ดยจัดทำแบบจำลองความสัมพันธ์
ขั้นพื้นฐานการบริหารงานวิจัยของสถาบันอุดมศึกษาโดยใช้วิธีการวิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้ในการจัดการ
การบริหารงานวิจัย โดยใช้กรณีศึกษาที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเป็นตัวอย่างหนึ่งของมหาวิทยาลัย
ที่มีในประเทศไทย ระเบียบวิธีวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งได้แก่ การรวบรวมข้อมูลจากการทบทวนวรรณกรรม
การสัมภาษณเ์ชิงลึกและการใชวิ้ธีการวิศวกรรมความรูเ้พื่อจับความรูข้ องผูเ้ชี่ยวชาญดา้ นการบริหารจัดการงานวิจัย
ผลการวิจัยได้นำเสนอแบบจำลองความสัมพันธ์เพื่อการบริหารงานวิจัยอย่างยั่งยืน ด้วยแบบจำลองความรู้ภารกิจ
จำนวน 3 ประเด็น แบบจำลองความรู้วิธีคิด จำนวน 7 ประเด็น และแบบจำลองความรู้หลักการเฉพาะปัญหา
จำนวน 47 ประเด็น ซึ่งสามารถนำแบบจำลองความสัมพันธ์ดังกล่าวไปออกแบบและพัฒนาให้เป็นระบบสารสนเทศ
เพื่อการจัดการความรู้การบริหารงานวิจัยต่อไป

The objective of this research is to present the model of knowledge management by using
ontologies for research management in Thai universities. The Rajamangala University of Technology
Lanna is selected as a case study, acting as a microcosm. The methodology of the research has a
qualitative nature which covers the methods of literature reviews, in-depth interviews and using
CommonKADs to capture knowledge of experts. The results highlight that the ontologies of sustainable
research management include three tasks knowledge, seven inferences knowledge and fourthly seven
domains knowledge, which can be applied to design and develop a knowledge management system for
the research management.

Article Details

Section
Research Articles
Author Biographies

ไพรพันธ์ ธนเลิศโศภิต, College of Integrated Science and Technology Rajamangala University of Technology Lanna 98 Moo8 T.Doi Saket Chiang Mai 50220

Department of Pre-Engineering College of Integrated Science and Technology Rajamangala University of Technology Lanna

รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร, Faculty of Business Administration and Liberal Arts Rajamangala University of Technology Lanna A.Muang Chiang Mai 50300

Faculty of Business Administration and Liberal Arts Rajamangala University of Technology Lanna

References

ณพศิษฎ์ จักรพิทักษ์. (2552). ทฤษฎีการจัดการความรู้. กรุงเทพมหานคร: ธนาเพลส.

ณพศิษฎ์ จักรพิทักษ์. (2555). การสร้างแบบจำลองความรู้ของ KADS. สืบค้นเมื่อ วันที่ 30 ธันวาคม 2557, จาก www.kmcenter.ago.go.th/.../การสร้างแบบจาลองความรู้ KADS.

ถิรเดช พิมพ์ทองงาม. (2552). สถิติเพื่อการวิจัย. ลพบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรีลพบุรี.

ประดิษฐ์ สงค์แสดงยศ. (2556). การศึกษาเปรียบเทียบการจัดการความรู้ของสถาบันอุดมศึกษาในจังหวัด เชียงใหม่. Procedia-Social and Behavioral Sciences. 69 (2012), 399-403.

สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา. (2557). โครงการส่งเสริมการผลิตผลงาน วิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา. ในการประชุมวางแผนการดำเนินงานโครงการเชิง กลยุทธ์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาวันที่ 12 ธันวาคม 2557 ห้องประชุม 2 อาคาร อำนวยการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ล้านนา.

สุจินต์ สิมารักษ์และคณะ. (2549). กลไกการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาท้องถิ่นระดับ-อำเภอ. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานสนับสนุนงานวิจัยแห่งชาติ.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการและสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ. (2548). คู่มือการจัดการความรู้: ทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการและสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ.

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. (2557). การทบทวนนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2555 - 2559). สืบค้นเมื่อ วันที่ 12 ธันวาคม 2557, จาก http://www.nrct.go.th/th/portals/0// data/file/ทบทวนร่างฉบับ8_10-9-57.pdf.

สำนักงานประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา. (2555). คู่มือประกันคุรภาพการศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.

Garvin, David A. (2000). Learning in Action: A Guide to Putting the Learning Organization to Work. Boston: Harvard Business School Press.

Robert S. Kaplan and David P. Norton. (1996). The Balanced Scorecard: Translating Strategy into Action. Harvard Business Review Press.

Schreiber, G., Akkermans, H., Anjewierden, A., Hoog De H., Shadbolt R. S., Velde Van de V., and Wielinga B J. (2000). Knowledge Engineering and Management: the CommonKADS Methodology. MIT press.

Scott, J., Sage Knoke, D., Yang, S., Sage De Nooy, W., Mvrar, A., and Batagelj, V. (2000). Social network analysis (SNA).

Senge P.M. (1994). The Fifth Discipline Fieldbook: Strategies and Tool for Building a Learning Organization. New York: Doubleday.