พฤติกรรมการชี้แนะเพื่อการจัดการของพนักงานสายสนับสนุนวิชาการ ตามแนวคิดเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ: กรอบความคิดและปัจจัยเชิงสาเหตุ

Main Article Content

Satit Chuayounan
Yutthana Chaijukul
Sunthon Khai-Aum
Natthawut Arin

Abstract

เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศส่วนหนึ่งได้กำหนดบทบาทของผู้นำในการเป็นผู้ชี้แนะ ซึ่งพฤติกรรมการชี้แนะที่เกี่ยวข้องกับพนักงานสายวิชาการ คือ การชี้แนะเพื่อการจัดการ โดยพฤติกรรมการชี้แนะเพื่อการจัดการเป็นการกระทำของหัวหน้างานที่ปฏิบัติต่อผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อให้พนักงานมีผลการปฏิบัติงานที่สูงเพื่อก่อให้เกิดความเป็นเลิศตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาฯ จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องพบว่า พฤติกรรมการชี้แนะเพื่อการจัดการ หมายถึง กระบวนการของหัวหน้างานในการพัฒนาพฤติกรรมการทำงานของผู้ใต้บังคับบัญชาเพื่อให้เกิดการเพิ่มผลการปฏิบัติงาน ได้แก่  การประเมิน  การกระตุ้น  การให้การสนับสนุน โดยพฤติกรรมการชี้แนะเพื่อการจัดการของหัวหน้างานที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับความสามารถในการสื่อสาร  บุคลิกภาพแบบตระหนักในหน้าที่รับผิดชอบ   เจตคติต่อการชี้แนะเพื่อการจัดการ และวัฒนธรรมการชี้แนะ

Leader as the managerial coaching within Education Criteria for Performance Excellence is the important behavior to develop support staff  work’ s  behavior for excellence university. For the review literature, the founding of managerial coaching behavior is the leaders’ process to develop support staffs’ high performance work which there are three dimensions as follows; assessing, challenging and supporting. However the differential of supervisors’ managerial coaching behavior depends on differential of communication competencies, personality as conscientiousness, managerial coaching’s attitude and coaching culture.

Article Details

Section
Academic Articles
Author Biography

Satit Chuayounan

Ph.D. Student in Applied Behavioral Science Research; Srinakharinwirote University

References

จุฑารัตน์ กิตติเขมากร. (2553). ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการทางานด้านความรับผิดชอบในกาปฏิบัติงานและด้านการมีส่วนร่วมของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์). กรุงเทพ ฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.

ธีรพร สุทธิโส. (2550). การรับรู้วัฒนธรรมองค์การ ความผูกพันต่อองค์การ และพฤติกรรมการทำงานของพนักงานโรงงานผลิตรถจักรยานยนต์. วิทยานิพนธ์ วท.ม. (จิตวิทยาอุตสาหกรรม). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ถ่ายเอกสาร.

ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2528). จิตวิทยาสังคม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2538). ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรม: การวิจัยและการพัฒนาบุคลากร.สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

ดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2550). รูปแบบทฎษฎีปฏิสัมพันธ์นิยม (Interactionism model) และแนวทางการตั้งสมมติฐานในการวิจัย สาขาจิตพฤติกรรมศาสตร์ในประเทศไทย. วารสารพัฒนาสังคม, 9(1), 85-117.

รัชต์วรรณ กาญจนปัญญาคม. (2556). การประชุมชี้แจงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่ความเป็นเลิศ(EdPEx). เอกสารสรุปบรรยาย. กรุงเทพฯ: งานพัฒนาและฝึกอบรม สำนักงานประกันคุณภาพหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ประยงค์ มีใจซื่อ. (2542). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2553). ผู้นำเชิงสร้างสรรค์และผลิตภาพ : กระบวนทัศน์ใหม่และผู้นำใหม่ทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2555). พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตสถาน.

วาสนา บุญญาพิทักษ์. (2556) .การพัฒนากลยุทธ์การบริหารคุณภาพการศึกษาตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศสำหรับสถาบันอุดมศึกษาที่จัดหลักสูตรสาขาดนตรีและนาฏศิลป์ไทย. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ,24 (3), 78-98

วีรวรรณ สุกิน. (2550). อิทธิพลของจิตลักษณะและสถานการณ์ในการทำงาน ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ ของอาจารย์สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์. ปริญญานิพนธ์ วท.ด. (การจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.ถ่ายเอกสาร.

ศุภินธา ม่วงศรีงาม. (2552). ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการบินอย่างปลอดภัยของนักบินอากาศยานปีกหมุน สังกัดศูนย์การบินทหารบก. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ . ถ่ายเอกสาร.

สุรพล พยอมแย้ม. (2541). พื้นฐานทางจิตวิทยาเพื่อการศึกษา. นครปฐม : โครงการส่งเสริมการผลิตตำราและเอกสารการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ถ่ายเอกสาร

สุรินทร์ ชุมแก้ว. (2556). วัฒนธรรมองค์การ ภาวะผู้นำแบบสร้างความเปลี่ยนแปลง และพฤติกรรมการทำงาน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของผู้บริหารในองค์การ. วิทยานิพนธ์ วท.ม. (การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ). กรุงเทพฯ: คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. ถ่ายเอกสาร.

สุริยศักดิ์ เหมือนอ่วม. (2552). ปัจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการทำงานตามพระราชดำรัสตามพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ของปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำตำบลในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร.

สมบัติ วรินทรนุวัตร. (2553). กลยุทธ์การจัดการ Strategy Management. TPA New สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น. (151).

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2550ก). เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ2552-2553. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ์.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2550ข). กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565). กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

Barrick,M.R. & Mount,M.K. (1991). The Big Five personality Dimentions and Job Performance : A Meta-analysis. Personnel Psychology,44, 1-26.

Barrick,M.R. ; Mount,M.K. ;& Judge, T. A. (2001). Personality and Performance at the Beginning of the New Millenium: What do We Know and Where do We Go Next?. International Journal of Selection and Assessment, 9, 9-30.

Begin, Stephen D. (2007). Organizational Culture Counts. Ottawa.: HRSB Concepts.

Bowman, R. F. (2002). The real work of department chair. The Clearing House, 72(3),158-162.

Brief, A. P. (1998). Attitudes in and around organizations. Thousand Oaks, CA: Sage.

Bronfenbrenner, U. (1979). The Ecology of Human Development: Experiments by Nature and Design. Cambridge, MA: Harvard University Press.

Costa, Paul T., Jr; & McCrae, Robert R. (1995). Revised NEO Personality Inventory (NEO PIR) and NEO Five-Factor Inventory (NEO FFI). Florida: Psychology Assessment Resource.

Crane, T.G. (2005). Creating a Coaching Culture. Worldwide Association of Business Coaches eZine, 1(1).

Crane, T. G. (2007). Crane Consulting Coaching Culture Assessment (revised). Unpublished Questionnaire.

Ellinger A.D., Beattie R.S. and Hamlin R.G. (2010). The 'manager as coach', in Cox E, Bachkirova T and Clutterbuck D (Eds).The Complete Handbook of Coaching , 257-270.

Ellinger, A. D., Ellinger, A. E., and Keller, S. B. (2003). Supervisory coaching behavior, employee satisfaction, and warehouse employee performance: A dyadic perspective in the distribution industry. Human Resource Development Quarterly, 14(4),.435-458

Fishbein, M. & Ajzen, I. (1975). Belief, attitude, intention and behavior: An introduction to theory and research. Reading, MA: Addison-Wesley.

Gilley, A., & Gilley, J. W. (2007). Organizational development and change. In R. R. Sims and S. Quarto (Eds.). Human Resource Management: Contemporary issues, challenges, and opportunities, 495-514.

Gilley, A., Gilley, J. W., and Kouider, E. (2010). Characteristics of managerial coaching. Performance Improvement Quarterly, 23(1), 53-70.

Hall, D. T., Otazo, K. L., & Hollenbeck, G. (1999). Behind closed doors: What really happens in executive coaching. Organizational Dynamics, 27(3), 39–53.

House, R, Rousseau, D. M. & Thomas–Hunt, M. (1995). The Meso paradigm: A framework for the integration of micro and macro organizational behavior In Cummings, L. L. & Staw, B. M. (Eds.), Research in Organizational Behavior , 71–114.

Hurtz, G. M. ;& Donovan, J. J. (2000). Personality and job Performance: The Big Five Revisited. Journal of Applied Psychology. 85 : 869-879.

Jablin, Fredric M.; Sias, Patricia M. (2000). Communication Competence. In Handbook of Organizational Communication Edited by Frederic Jablin,819-864.

Johansson, C., Miller, V. D. and Hamrin, S., 2014. Conceptualizing communicative leadership: A framework for analysing and developing leaders’ communication competence. Corporate Communications: An International Journal., 19(2), 147 – 165.

John Politis and Denis Politis. (2011). The Big Five Personality Traits and the art of Virtual Leadership. Proceedings of ECMLG 2011 The 7th European Conference on Management, Leadership and Governance SKEMA Business School, Sophia-Antipolis, France 6-7 October 2011, 342-349.

Joo, B.-K. (2005). Executive Coaching: A Conceptual Framework From an Integrative Review of Practice and Research. Human Resource Development Review, 4(4),462-488.

Madlock, P. E. (2008). The link between leadership style, communication competence, and employee satisfaction. Journal of Business Communication, 45, 61-75.

Mansor A., A. Rahim, Mohamed, A., Idris, N. (2012). Determinants of Coaching Culture Development: A Case Study. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 40(20212) 485-489.

McCroskey, J. C. (1984). The communication apprehension perspectice. In J. A Daly & J. C. McCroskey (Eds.). Avoiding communication: Shyness, reticence, and communication apprehension,13-38.

McLean, G. N., Yang, B., Kuo, C., Tolber, A., & Larkin, C. (2005). Development and initial validation of an instrument measuring coaching skill. Human Resource Development Quarterly, 16(2), 157-178.

Megginson, D. and Clutterbuck, D. (2005). Techniques for coaching and mentoring. Amsterdam; London: Elsevier Butterworth Heinemann.

Noer,D.M., Leupold,C.R., and Valle,M. (2007) An analysis of Saudi Arabian and U.S. managerial coaching behaviors. Journal of Management Issues, 19(2), 271-287.

Park, S., Yang, B., & McLean, G. N. (2008). An examination of relationship between managerial coaching and employee development. ERIC Document Retrieval No. ED 501 641.

Persson, S. (2007). Coaching as a tool for learning:Aninterplay betweenthe individualand organizational level. Studies in the Education of Adults, 39, 197–216

Ryckman, R. M. (2004). Theory of Personality. USA. Michele Sordi.

Sarason, I.G., Levine, H.M., Basham, R.B.. (1983). Assessing social support: The Social Support Questionnaire. Journal of Personality and Social Psychology. 44, 127-139.

Se Won Kim. (2010). Managerial Coaching Behavior and Employee Outcomes: A Structural Equation Modeling Analysis. Dissertation (Ph.D. Human Resource Development). Graduate Studies of Texas A&M University.

Sriussadaporn, Charoenngam N.; & Jablin, F.M. (1999). A exploratory study of communication competence in Thai organizations. Journal Business Communication. 36(4): 382-418.