เส้นทางท่องเที่ยวเชิงศาสนาประเภทเจดีย์และพระพุทธรูปสำคัญในจังหวัดเชียงใหม่
Main Article Content
Abstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการณ์ในการท่องเที่ยวเชิงศาสนาในจังหวัดเชียงใหม่
2) เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ และคุณค่าเกี่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวเชิงศาสนาประเภทเจดีย์และพระพุทธรูปสำคัญ
ในจังหวัดเชียงใหม่ 3) เพื่อนำเสนอเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงศาสนาประเภทเจดีย์และพระพุทธรูปสำคัญใน
จังหวัดเชียงใหม่ ใช้การวิจัยแบบผสานวิธีระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ พื้นที่วิจัย คือ วัดในเขต
อำเภอเมืองเชียงใหม่ จำนวน 16 วัด ใช้วิธีคัดเลือกแบบเจาะจงจากรายชื่อวัดที่ปรากฏในมูลศาสนาและชินกาล
มาลีปกรณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย มี 3 ชนิด ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่ม ข้อมูล
เชิงปริมาณได้จากแบบสอบถามนักท่องเที่ยวกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน ข้อมูลเชิงคุณภาพ ได้จากศึกษาเอกสาร
ร่วมกับการสัมภาษณ์ และสนทนากลุ่มกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง จำนวน 20 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการณ์
ของการท่องเที่ยวเชิงศาสนาในจังหวัดเชียงใหม่ นักท่องเที่ยวใช้ระยะเวลาส่วนใหญ่ 1 วัน แบบเช้าไป-เย็นกลับ
นิยมท่องเที่ยวไหว้พระมากที่สุด วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหารเป็นวัดที่นักท่องเที่ยวนิยมมากที่สุด 2) วัดในเขต
อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ทั้ง 16 แห่ง มีประวัติศาสตร์ คุณค่าและศักยภาพในการพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว
เชิงศาสนาได้ในระดับสูง 3) เส้นทางท่องเที่ยวที่นำเสนอแบ่งเป็น 2 เส้นทาง คือ เส้นทางตามชื่อวัดที่เป็นมงคล
และเส้นทางประวัติศาสตร์การสร้างเจดีย์และพระพุทธรูปสำคัญ
The purpose of this research was to present 1) to study situation of religion tourism in Chiang Mai
2) to study the history and value of religion tourism source for the important Chedi and Buddha image in
Chiang Mai 3) to present religion tourism routes for pagoda and Buddha image in Chiang Mai. This study
used mixed methodology, research areas were 16 temples in Muang district, Chiang Mai with purposively
selected from the temple list that appears in the Tamnan munlasatsana and Jinakalamalipakaranam
The three instruments used in this research were questionnaires, interviews and focus groups. Quantitative
data from the survey sample, a group of 400 people and qualitative data from the literatures and the
interviews from 20 people. The results showed that: 1) In situation of religion tourism in Chiang Mai,
tourists spend time on traveling in one day and a popular activity was to pay respect to the Buddha then
Wat Phrathat Doisuthep Rajawarawihara is the most popular for travelers 2) The 16 temples in Muang
district, Chiang Mai have long history, value and potential for develop into a religion tourist attraction in
high level 3) The religion tourism routes were divided 2 ways; the route of the name of auspicious temples
and the route of Chedi and Buddha image with significant construction history.
Article Details
1. Any views and comments in the FEU Academic Review Journal are the authors’ views. The editorial staff have not to agree with those views and it is not considered as the editorial’s responsibility.
2. The responsibility of content and draft check of each article belongs to each author. In case, there is any lawsuit about copyright infringement. It is considered as the authors’ sole responsibility.
3. The article copyright belonging to the authors and the Far Eastern University are copyrighted legally. Republication must be received direct permission from the authors and the Far Eastern University in written form.
References
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2554). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการการนโยบายการท่องเที่ยวแห่งชาติ.
การท่องเที่ยวภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่. (2557). สถิติสรุปข้อมูลสถิตินักท่องเที่ยวและรายได้ North 2013. สืบค้นเมื่อ 14 มกราคม 2557, จาก http://www.cm-mots.com//modules/download/file/2014-
-03-8343726.pdf
ชูสิทธิ์ ชูชาติ. (2544). อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว. (พิมพ์ครั้งที่ 2). เชียงใหม่: ลานนาการพิมพ์.
มิ่งสรรค์ ขาวสะอาด. (2551). การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการที่ยั่งยืนในลุ่มแม่น้ำโขง 2. รายงานการวิจัย. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม
วิฑูรย์ เหลียวรุ่งเรื่อง และสุจิณณา พานิชกุล . (2547). เส้นทางท่องเที่ยวสถาปัตยกรรมเชิงประวัติศาสตร์. รายงานการวิจัย. เชียงใหม่: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สุรพล ดำริห์กุล (2538). เจดีย์ช้างล้อมในดินแดนล้านนา. รายงานการวิจัย. เชียงใหม่: คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555-2559. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
อนุกูล ศิริพันธ์, นพพงษ์ สว่างอัม, และกิตติศักดิ์ กลิ่นหมื่นไวย. (2557.) การออกแบบเส้นทางท่องเที่ยวด้านพุทธศิลป์ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดลำปาง. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 2 (3), 265-276.
Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and psychological Measurement. 30 (3), 607-610.