การศึกษาองค์ประกอบของทักษะชีวิต สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
Main Article Content
Abstract
การวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาองค์ประกอบ และแนวทางในการจัดการศึกษาตามองค์ประกอบของทักษะชีวิต
สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพกลุ่มเป้าหมาย
จำนวน 10 คน เป็นบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ซึ่งเลือกแบบเจาะจง (Purposive
Sampling) จากผูบ้ ริหาร ครูผูส้ อน ครูประจำเรือนนอน ผูป้ กครอง จาก 3 หนว่ ยงาน ใน 3 จังหวัด คือ โรงเรียนโสตศึกษา
อนุสารสุนทร จังหวัดเชียงใหม่ โรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดตาก และอาจารย์ประจำสาขาวิชาการศึกษาพิเศษ
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์
มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 0.90 การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1)
องค์ประกอบของทักษะชีวิตมี 4 องค์ประกอบ ได้แก่ ด้านการดำรงชีวิตประจำวัน ด้านสุขอนามัย ด้านพฤติกรรม และ
ด้านความปลอดภัย 2) แนวทางในการจัดการศึกษาตามองค์ประกอบของทักษะชีวิตสำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่อง
ทางการได้ยินทั้ง 4 องค์ประกอบ ประกอบด้วย 1) ด้านการดำรงชีวิตประจำวัน ควรส่งเสริมให้นักเรียนได้มีการเรียน
รู้เนื้อหาเกี่ยวกับการกวาดบ้าน/ถูบ้าน การแต่งกาย การซักผ้าชิ้นเล็ก และการรับประทานอาหาร 2) ด้านสุขอนามัย
ควรส่งเสริมให้นักเรียนได้มีการเรียนรู้เนื้อหาเกี่ยวกับการดูแลความสะอาดฟัน การดูแลความสะอาดเล็บ การดูแล
ความสะอาดผม และการดูแลความสะอาดผิวหนัง 3) ด้านพฤติกรรม ควรส่งเสริมให้นักเรียนได้มีการเรียนรู้
เนื้อหาเกี่ยวกับการเดินผ่านผู้ใหญ่ การเข้าแถวเพื่อรับของ การขอโทษ การขอบคุณ และมารยาทในการสนทนา
4) ด้านความปลอดภัย ควรสง่ เสริมใหนั้กเรียนไดมี้การเรียนรูเ้นื้อหาเกี่ยวกับการใชข้ องมีคม การขา้ มถนน/ทางมา้ ลาย
การข้ามสะพาน และการหยุดรอไฟสัญญาณจราจร
This study is aimed to study on the Components and Guideline of Educational Management of
Life Skills of Grade 1 Students with Hearing Impairment. It was a qualitative research. The subjects were
10 people, including administrators, grade 1 teachers, dormitory teachers, Parents for the Deaf in
Anusarnsunthorn School for the Deaf, Tak School for the Deaf and special education lecturers in
Pibulsongkram Rajabhat University. The instrument for data collection was the Interview form, which
yielded the reliabilities of 0.90, Research data were analyzed with content analysis. It was found that: 1)
The Components of Life Skills of Grade 1 Students with Hearing Impairment, were comprises 4 core,
daily living skill, personal hygiene, behavior and Safety training. 2) The Guideline of Educational Management
of Life Skills of Grade 1 Students with Hearing Impairment, were comprises 4 core. The four core can be
further categorized into 16 sub as described below: Under the first core, Under the first core, daily living
skill, lies 4 components: House cleaning, Dressing, Washing and Eating. The second core is personal
hygiene which consists of 4 components: Teeth cleaning, Nail cleaning, hair cleaning and skin cleaning.
The third core is behavior which consists of 4 components: Courtesy of walking, queues, Thanks you or
apologize, and conversation etiquette. The last core is Safety training which consists of 4 components:
using of sharp objects, Crossing the street, bridge crossing and Stop waiting for the traffic light.
Article Details
1. Any views and comments in the FEU Academic Review Journal are the authors’ views. The editorial staff have not to agree with those views and it is not considered as the editorial’s responsibility.
2. The responsibility of content and draft check of each article belongs to each author. In case, there is any lawsuit about copyright infringement. It is considered as the authors’ sole responsibility.
3. The article copyright belonging to the authors and the Far Eastern University are copyrighted legally. Republication must be received direct permission from the authors and the Far Eastern University in written form.
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: บริษัทพริกหวานกราฟฟิค จำกัด.
กระทรวงศึกษาพิการ. (2554). แผนพัฒนาการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ ระยะ 5 ปี พ.ศ. 2555-2559. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
ผดุง อารยะวิญญู. (2542). การศึกษาสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: รำไพรเพรส.
พูนพิศ อมาตยกุล สุมาลี ดีจงกิจ และพิมพา ขจรธรรม. (2549). เอกสารประกอบการสอน ความรู้ทั่วไปเรื่องความพิการและคนพิการ. นครปฐม: วิทยาลัยราชสุดา มหาวิทยาลัยมหิดล.
วารี ถิระจิตร. (2545). การศึกษาสำหรับเด็กพิเศษ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: จุฬาลงวกรณ์มหาวิทยาลัย.
วรวรรณ คงคล้าย. (2542). เด็กที่มีความบกพร่อง. กรุงเทพฯ: ม.ป.ส.
ศิริวิมล ใจงาม. (2549). เอกสารประกอบการสอน รายวิชา ภาษามือ. พิษณุโลก: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ศรียา นิยมธรรม. (2544). ความบกพร่องทางการได้ยิน ผลกระทบทางจิตวิทยา การศึกษา และสังคม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แว่นแก้ว.
โสรัจ พิศชวนชม. (2543). หลักสูตรและการจัดการมัธยมศึกษา. อุดรธานี : สถาบันราชภัฏอุดรธานี.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2554). แนวคิดเรื่องทักษะชีวิตและการพัฒนาทักษะชีวิตในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
อนุชา ภูมิสิทธิพร. (2554). ความรู้เกี่ยวกับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน. พิษณุโลก: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
Asher and Taylor (1983). Social skill training with children: Evaluating processes and outcomes. Studies in Educational Evaluation, 8, 237–245.
Center for Hearing & Deaf Services. (2014). Life skills for deaf. Retrieved 29, 2014, From http://www.hdscenter.org/life_skills.asp.
Deaf Action Center. (2014). Life skills for deaf. Retrieved November 29, 2014, From http://www.deafactioncenter.org.
Deaf Children Australia. (2014). Life skills for deaf. Retrieved November 29, 2014, From http://deafchildrenaustralia.org.au/
Goldsmith. (1995). Residential education: An option for America's youth. Oak Brook,IL: North Central Regional Educational Laboratory.
Hindley, Hill, McGuigan and Kitson. (1994) Psychiatric disorder in deaf and hearing impaired children and young people: a prevalence study. J Child Psychol Psychiatry. 5(35), 917-934.
Huber. (2015). “Health-Related Quality of Life of Austrian Children and Adolescents with Cochlear Implants”. International Journal of Pediatric Otorhinolaryngology. 8(69), 2005, 1089-1101.
Hyatt, Keith, Filler, John. (2007). A Comparsion of the Effects of Two Social Skill Training Approaches on Teacher and Child Behavior. Journal of Research in Childhood Education. 22(1), 221.
Jankowski. (1999). Student Life in the New Millennium: Empowering Education for Deaf Students. Laurent Clerc National Deaf Education Center Gallaudet University, Washington.
Kingsnorth, Healy and Macarthur. (2007). “Preparing for Adulthood: A Systematic Review of Life Skill Programs for Youth with Physical Disabilities”. Journal of Adolescent Health. 7(41), 323-332.
Mabena. (2012). Play for change: Including the Performing arts in teaching life skills to Deaf adolescents. (Online)
Maghsoudi, Hashemisabour, Yazdani and Mehrabi. (2010). “The Effect of Acquiring Life Skills through Humor on Social Adjustment Rate of the Female Students”. Iranian Journal of Nursing and Midwifery Research. 4(15), 2010, 195-201.
Moore. (2009). Great Deaf Americans. 3rd. ISBN-13: 978-0970587633.
Patton. (2004). “Social Skills Issues of Mainstreaming Hearing Impaired Children”. Washington University School of Medicine, St. Louis.
Vernosfaderani and Movallali. (2013). Iranian Journal of Clinical Psychology. The Effectiveness of Life Skills Training in Hearing Impaired Students for the Reduction of Social Phobia. 1(2), (36-41).
Vernosfaderani. (2014). Journal of Medical Psychology. The Effectiveness of Life Skills Training on Enhancing the Self-Esteem of Hearing Impaired Students in Inclusive Schools, 14(3), (94-99)
Vogel, Bowers, Meehan, Hoeft, Bradley. (2004). Virtual reality for life skills education: Program evaluation. 6(1), 2004, 39-50.
WHO. (1997). “Life Skill Education for Children and Adolescents in School,” World Health Organization, Geneva.
Zinza. (2009). Master ASL - Level One. ISBN-13: 978-1881133209.