พัฒนาการด้านความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษ ผ่านกิจกรรมการอ่านต่อชิ้นส่วนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี
Main Article Content
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาการด้านความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษผ่านกิจกรรม
การอา่ นตอ่ ชิ้นสว่ นของผูเ้รียนระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง โดยกลุม่ เปา้ หมายที่ศึกษางานวิจัยครั้งนี้
คือนักศึกษาระดับปริญญาตรี หมู่เรียน 561226801 ชั้นปีที่ 1 สาขาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ คณะเทคโนโลยี
อุตสาหกรรม ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อทักษะการเรียน (English for Study Skills: 1500114)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ แผนการสอนที่ใช้กิจกรรม
การอ่านต่อชิ้นส่วนรวมทั้งสิ้น 8 แผน แต่ละแผนใช้เวลา 3 คาบเรียน และแบบทดสอบความเข้าใจในการอ่านภาษา
อังกฤษแบบอัตนัยที่วัดความเข้าใจในระดับแปลความ ตีความ คิดวิเคราห์ และสรุปความ รวมทั้งสิ้น 8 บททดสอบ
การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลจากการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัย
สรุปได้ว่าพัฒนาการด้านความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษของนักศึกษาผ่านเกณฑ์ที่กำหนด โดยมีคะแนน
เฉลี่ยรอ้ ยละ 67.25 และอยูใ่ นระดับพอใช ้ผูเ้รียนมีแนวโนม้ พัฒนาการดา้ นความเขา้ ใจในการอา่ นภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น
อย่างต่อเนื่อง
The purpose of this research was to study the development of English reading comprehension
of undergraduate students during learning through jigsaw reading activity. The target group of this study
was 10 first year students of the Faculty of Industrial Technology, who enrolled in English for Study Skills
(1500114) course in the second semester of 2014 academic year at Lampang Rajabhat University.
Research instruments consisted of 8 jigsaw activity lesson plans and 8 reading comprehension tests.
The data obtained were statistically analyzed for percentage, mean and standard deviation.
The development of English reading comprehension of students was increased steadily and met
the criteria at moderate level (67.25 %) throughout the jigsaw activity.
Article Details
1. Any views and comments in the FEU Academic Review Journal are the authors’ views. The editorial staff have not to agree with those views and it is not considered as the editorial’s responsibility.
2. The responsibility of content and draft check of each article belongs to each author. In case, there is any lawsuit about copyright infringement. It is considered as the authors’ sole responsibility.
3. The article copyright belonging to the authors and the Far Eastern University are copyrighted legally. Republication must be received direct permission from the authors and the Far Eastern University in written form.
References
กนิษฐา จีถม. (2550). การใช้กิจกรรมต่อชิ้นส่วนเพื่อส่งเสริมความเข้าใจในการอ่าน การพูดภาษาอังกฤษ และทักษะทางสังคมของนักเรียนระดับก้าวหน้า. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
กรมวิชาการ. (2551). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ.
กองวิจัยทางการศึกษา กรมวิชาการ. (2546). รายงานการวิจัยเรื่อง การศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษที่มุ่งเน้นทักษะการสื่อสารตามหลักสูตรการศึกษาขั้นศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ.
นันทิยา แสงสิน. (2543). การเรียนการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองหรือภาษาต่างประเทศ. ภาควิชามัธยมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ถนอมเพ็ญ ชูบัว. (2554). การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ ด้วยวิธีสอนอ่านแบบบูรณาการของเมอร์ด็อค (MIA). [เว็บบล็อก]. สืบค้นจากhttp://www.myfirstbrain.com/teacher_view.
ทิศนา แขมมณี. (2557). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เพ็ญศรี กันทาสุวรรณ์. (2536). ผลของการใช้เทคนิคต่อบทเรียนที่มีต่อความเข้าใจในการอ่านและทัศนะคติด้านการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สมศักดิ์ ภู่วิภาดาวรรธน์. (2544). การยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และการประเมินตามสภาพจริง. กรุงเทพฯ: เดอะโนว์เลจ.
สุภาพร ยิ้มวิไล. (2551). การศึกษาความสามารถและปัญหาในการอ่านภาษาอังกฤษของนิสิตวิชาเอกภาษาอังกฤษของมหาวิทยาลัยศรีคนรินทรวิโรฒ. วารสารวิชาการคณะมนุษย์และสังคมศาสตร์, 4(2), 130-148.
อารดา กันทะหงษ์. (2546). การใช้เทคนิคการต่อชิ้นส่วนในการอ่านวรรณคดีเพื่อส่งเสริมความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษและความฉลาดทางอารมณ์. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Aronson, Elliott. (2000). The Jigsaw Classroom. Retrieved from Jigsaw.org: http://www.jigsaw.org/overview.htm.
Buzan, T. (1997). Use Your Head. Great Britain: Redwood Books, Trowbridge.
Farouk Abd El Sami Ali, Mohammed. (2001). The Effect of Using the Jigsaw Reading Technique on the EFL Pre-service Teachers’ Reading Anxiety and Comprehension. Helwan University, Cairo, Egypt. Journal of Education College.
Ghazi Ghazi and Mirna Abd El-Malak. (2003). Effect of Jigsaw II on Literal and Higher Order EFL Reading Comprehension. Educational Research and Evaluation, 10, 105-115.
Kazemi, Mahnaz. (2012). The Effect of Jigsaw Technique on the Learners’ Reading Achievement: The Case of English as L2. The modern journal of applied linguistic. Vol.4, No.3.
Pan, Ching-Ying and Wu, Hui-Yi. (2013). The Cooperative Learning Effects on English Reading Comprehension and Learning Motivation of EFL Freshmen. Canadian center of science and education: English language teaching. Vol. 6, No. 5.
Swain, M. (1985). Input in second language acquisition. Rowley, Mass: Newbury House Publishers.
Tamah, Siti Mina. (2007). Jigsaw Technnique in Reading Class of Young Learners: Revealing students’ interaction. Widya Mandala Catholic University.