การพัฒนาทักษะการประเมินการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูผู้สอนในระดับปฐมวัยในจังหวัดลำปาง
Main Article Content
Abstract
การวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะการประเมินการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูผู้สอนในระดับปฐมวัย
ในจังหวัดลำปางครั้งนี้ มีวัตถุประสงค 2 ประการ คือ 1) เพื่อพัฒนาทักษะการประเมินการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ของ
ครูผู้สอนในระดับปฐมวัย และ 2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นต่อการพัฒนาทักษะการประเมินการเรียนรู้ในศตวรรษ
ที่ 21 ของครูผูส้ อนในระดับปฐมวัย กลุม่ ตัวอยา่ งที่ใชใ้ นการวิจัยครั้งนี้ เปน็ ครูผูส้ อนในระดับปฐมวัย โรงเรียนอนุบาล
ลำปาง (เขลางค์รัตน์อนุสรณ์) อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง ปีการศึกษา 2556 จำนวน 20 คนที่มีความเต็มใจ
เข้าร่วมโครงการ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย 1) หลักสูตรการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาทักษะ
การประเมินการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูผู้สอนในระดับปฐมวัย” 2) แบบทดสอบก่อนและหลังการอบรม
3) แบบประเมินการพัฒนาการสร้างแบบประเมินในศตวรรษที่ 21 ของครูผู้สอน 4) แบบสอบถามความพึงพอใจ
ของครูผู้สอนที่เข้าร่วมโครงการ และ 5) แบบบันทึกสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ ใช้สถิติ
เชิงบรรยาย โดยการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การ
วิเคราะห์เชิงพรรณนา สรุปผล
ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลการพัฒนาทักษะการประเมินการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูผู้สอนในระดับ
ปฐมวัย สรุปผลใน 2 มิติ ดังนี้ มิติด้านผลการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินในศตวรรษที่ 21 ของ
ครูผู้สอนระดับปฐมวัย พบว่า จากการทดสอบก่อนและหลังการอบรม ครูผู้สอนส่วนใหญ่มีพัฒนาการของคะแนน
เพิ่มขึ้นหลังจากอบรม สรุปไดว้ า่ หลังการอบรมครูผูส้ อนมีความรู ้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการประเมินการเรียนรูใ้ นศตวรรษ
ที่ 21 เพิ่มมากขึ้น และมิติดา้ นผลการพัฒนาทักษะการประเมินการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ของครูผูส้ อนระดับปฐมวัย
พบว่าทักษะการประเมินการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูผู้สอนในระดับปฐมวัย หลังจากการอบรมครั้งที่ 1
ครูมีทักษะตั้งแต่ระดับตํ่ามากถึงระดับสูง โดยทักษะระดับสูงมีจำนวนน้อยมากเพียงร้อยละ 5.00 เท่านั้น เมื่อมี
การนิเทศ ให้คำแนะนำ และมีการอบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 2 เพื่อเติมเต็มอยา่ งตอ่ เนื่องครูมีการพัฒนาทักษะเพิ่มขึ้น
เมื่อสิ้นสุดโครงการ ครูผู้สอนส่วนใหญ่มีทักษะในระดับสูงถึงสูงมาก โดยมีทักษะในระดับสูงมากถึงร้อยละ 90.00
และ 2) ความคิดเห็นต่อการพัฒนาทักษะการประเมินการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูผู้สอนในระดับปฐมวัย
สรุปใน 2 ประเด็น คือ ความคิดเห็นตอ่ การเขา้ รว่ มการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อสรา้ งเครื่องมือในการประเมินการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21 ของครูผู้สอน พบว่าครูระดับปฐมวัยมีความเห็นด้วยต่อการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างเครื่องมือ
ในการประเมินการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ระดับมากในทุกประเด็น และความคิดเห็นต่อการปรับเปลี่ยนแนวคิด
ในการประเมินการเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 จากการสนทนากลุม่ กับครูผูส้ อนที่เขา้ รว่ มโครงการไดใ้ หข้ อ้ คิดเห็นเพิ่มเติม
ในประเด็นต่าง ๆ คือ 2.1) ความคิดเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้และการประเมินก่อนเข้าร่วมโครงการ
พบว่า โดยทั่วไปก่อนเข้าร่วมโครงการของครูผู้สอนนั้นส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์
การเรียนรูแ้ ละการประเมินในระดับหนึ่ง แตส่ ว่ นใหญพ่ บวา่ ปญั หาในการดำเนินการสรา้ งแบบประเมินการเรียนรูว้ า่
ทำอย่างไรจึงจะได้แบบประเมินที่สามารถประเมินได้อย่างครอบคลุมและตรงตามจุดประสงค์ที่ต้องการวัด
2.2) องคค์ วามรูที้่ไดรั้บจากการเขา้ รว่ มโครงการ/ความรูที้่ความสามารถนำไปปฏิบัติจริง จากการสนทนากลุม่ กับครูผูส้ อน
พบวา่ การเขา้ รว่ มโครงการครั้งนี้ทำใหไ้ ดเ้รียนรูแ้ ละฝกึ ปฏิบัติจริงจากการเขา้ อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อสรา้ งเครื่องมือ
ในการประเมินการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 ของครูผู้สอน ทำให้ได้รับองค์ความรู้และสามารถนำไปปฏิบัติใช้จริงได้
คือ การวัดและประเมินผลพัฒนาการของนักเรียนควรประเมินเป็นรายบุคคลอย่างต่อเนื่อง และประเมินระดับปฐมวัย
ควรเป็นการประเมินตามสภาพจริงด้วยวิธีการหลากหลายเหมาะกับเด็ก และนอกจากนั้นต้องประเมิน
อย่างเป็นระบบ มีการวางแผน เลือกใช้เครื่องมือและจดบันทึกไว้เป็นหลักฐาน 3) การปรับเปลี่ยนแนวคิดใน
การประเมินการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จากการสนทนากลุ่ม เพื่อถอดความรู้ร่วมกัน ครูผู้สอนได้ให้ความเห็นว่า
จากการไดร้ ว่ มโครงการทำใหเ้กิดความรูค้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกับการจัดประสบการณก์ ารเรียนรูแ้ ละการประเมินในมิติที่
ต่างจากเดิมคือ 3.1) มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมินการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างแท้จริง 3.2)
มีความเข้าใจ และมั่นใจในการสร้างเครื่องมือประเมินการเรียนรู้ในระดับปฐมวัย 3.3) มีความเข้าใจ และตระหนัก
เกี่ยวกับการประเมินตามสภาพจริงมากยิ่งขึ้น 3.4) เกิดการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
และการประเมินการเรียนรู้
The research entitled, “Development of Skills in the 21st Century Learning Assessment of Teachers
Teaching in Early Childhood Level in Lampang Province” had two objectives: 1) to develop early
childhood teachers’ skills in the 21st century learning assessment, and 2) to investigate teachers’ opinion
in concepts of the 21st century learning assessment. The target group consisted of 20 early childhood
teachers from Anuban Lampang School, Muang Lampang District, Lampang Province in the 2013
academic year. Those teachers were willing to participate in the research project. Instruments used
consisted of: 1) the curriculum on an assessment of developing early childhood teachers’ skills in the 21st
century learning assessment; 2) pre-test and post-test used before and after the training session;
3) an assessment form on teachers’ development in constructing the 21st century assessment form;
4) a questionnaire on satisfaction of teachers taking part in the project; and focus group interviews. Descriptive
statistics were used to analyze the data. They involved analysis of frequency, percentage, mean, and
standard deviation. The qualitative data were descriptively analyzed and summarized.
The findings revealed the results of developing early childhood teachers’ skills in the 21st century
learning assessment that 1) When comparing the teachers’ pre-test score with that of their post-test one,
it was found that most of them gained better score after the first training session. Thus, it could be inferred
that after the first training session on skills in the 21st century learning assessment, the target group gained
considerable knowledge and understanding. Moreover, it was also found that after the first training
session, teachers’ skills could be ranked from very low level to that of the higher one though with a very
small number of participants (5.00 percent). However, when supervision, suggestions and the second
session of the workshop were provided for the participants so as to continually fulfill their knowledge, their
skills were developed as a result. At the end of the project, most of the teachers possessed high to very
high level of skills, especially there was 90.00 percent of those whose skills were at a very high level, 2)
As for the study of the early childhood teachers’ opinion on developing early childhood teachers’ skills in
the 21st century learning assessment were satisfied with the workshop to construct an instrument for the
21st century learning assessment at a high level and information from a focus group technique with the
teachers who shared their reflection on various topics, namely: 1) their ideas of learning experience
management and learning assessment before participating in the project that formerly most of them had
some knowledge and understanding in learning experience management and assessment, but most of
them encountered with the problems of constructing a learning assessment form that covered every
aspect and served objectives that needed to be measured; 2) when putting the body of knowledge gained
from participating in the project/practical knowledge into light, it was found that they learned and practiced
learning by doing, also taking part in the workshop to construct an instrument used to assess learning in
the 21st century provided them with the body of knowledge which was applicable for real practice,
especially in measuring and assessing students’ development which should be continually conducted
with one student at a time. Moreover, the assessment for early childhood level should be an authentic one
with various techniques and was suitable for students. It should also be systematic, well-planned with
selective instruments and logs should be kept as an evidence; and 3) when putting a shift in concepts of
the 21st century learning assessment into light, it was found from a focus group technique that participating
in the project caused teachers to become knowledgeable with better understanding about learning
experience management and assessment, but with different dimensions from the past since: 3.1)
authentically, they possessed knowledge and understanding about the 21st century learning assessment;
3.2) they had better understanding and became confident in constructing an instrument to assess
learning in the early childhood level; 3.3) they had better understanding and became considerably aware
of authentic assessment; and 3.4) there was a change concerning learning experience management and
learning assessment.
Article Details
1. Any views and comments in the FEU Academic Review Journal are the authors’ views. The editorial staff have not to agree with those views and it is not considered as the editorial’s responsibility.
2. The responsibility of content and draft check of each article belongs to each author. In case, there is any lawsuit about copyright infringement. It is considered as the authors’ sole responsibility.
3. The article copyright belonging to the authors and the Far Eastern University are copyrighted legally. Republication must be received direct permission from the authors and the Far Eastern University in written form.
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2546. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
คุรุสภาลาดพร้าว.
กระทรงศึกษาธิการ. (2548). คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2546 (สำหรับเด็กอายุ 3-5 ปี).
พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.
พรฤดี ครูหงส์สา (2556). แนวทางการวัดและประเมินผลเด็กปฐมวัย. สืบค้นเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2557. จาก http://www. artsedcenter.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539325493&Ntype= 9
เยาวพา เดชะคุปต์. (2544). การพัฒนาพหุปัญญาเพื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย. เอกสารการอบรม เชิงปฏิบัติการเรื่อง พหุปัญญาเพื่อการเรียนรู้สำหรับเด็ก. ระหว่างวันที่ 25-27 ตุลาคม 2544 ณ หอประชุมใหญ่ สำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดฉะเชิงเทรา.
รุ่งนภา ตั้งจิตรเจริญกุล และคณะ. (2554). วิจัยการพัฒนาเครื่องมือประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัยโรงเรียน
สาธิตลอออุทิศ. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
สิริรัตน์ พวงยอด. (2554). การพัฒนาศักยภาพครูในการสร้างข้อสอบวัดทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. (2555). ชุดโครงการวิจัยกระบวนการพัฒนาครูด้วยระบบ
หนุนนำต่อเนื่อง. เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการกำกับทิศทางโครงการวิจัย
กระบวนการพัฒนาครูด้วยระบบหนุนนำต่อเนื่อง (Teacher Coaching) วันที่ 4 มิถุนายน 2556
ณ ห้องประชุม 1 สกว. ชั้น 14 อาคารเอส เอ็ม ทาวเวอร์ กรุงเทพฯ .
สำนักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ. (2540). คู่มือประเมินพัฒนาการเด็กระดับก่อนประถมศึกษา.
(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). รายงานความก้าวหน้าการจัดการเรียนรู้ ระดับปฐมวัย
ปี 2551-2552. กรุงเทพฯ : บริษัท เพลิน สตูดิโอ จำกัด.