ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการกับประสิทธิผลทางการเรียนของผู้เรียน ในโรงเรียนขยายโอกาส อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
Main Article Content
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนขยายโอกาส
อำเภอเชียงดาวจังหวัดเชียงใหม่ (2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลทางการเรียนของผู้เรียนในโรงเรียนขยายโอกาส
อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ และ (3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการกับประสิทธิผล
ทางการเรียนของผู้เรียนในโรงเรียนขยายโอกาส อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ
ผู้บริหารสถานศึกษา รองผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอน รวมทั้งสิ้นจำนวน 286 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
แบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการกับประสิทธิผลทางการเรียนของผูเ้ รียนเปน็ แบบมาตราสว่ นประมาณคา่
5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์
โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัย สภาพการบริหารงานวิชาการในโรงเรียนขยายโอกาส อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า
โดยรวมประชากรมีความคิดเห็นว่า มีการปฏิบัติมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าทุกด้านมีการปฏิบัติมากเช่นกัน
โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการพัฒนาการเรียนการสอน ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยตํ่าสุด คือ ด้านการส่งเสริม
สนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงานและสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา ในด้านประสิทธิผล
ทางการเรียนของผู้เรียนในโรงเรียนขยายโอกาส อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า โดยรวมประชากรมี
ความคิดเห็นวา่ มีการดำเนินงานมาก เมื่อพิจารณารายดา้ น พบวา่ ดา้ นที่มีคา่ เฉลี่ยสูงสุด คือ ดา้ นผูเ้ รียนมีสุขภาวะที่ดี
และมีสุนทรียภาพ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยตํ่าสุด คือ ด้านผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร สำหรับ
ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการกับประสิทธิผลทางการเรียนของผู้เรียนในโรงเรียนขยายโอกาส
อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า โดยรวม มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลาง (r = 0.65) ซึ่งเป็นไป
ตามสมมติฐานที่ตั้งไว้ เมื่อพิจารณาเป็นรายคู่ พบว่า คู่ที่มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านพัฒนาการเรียน
กับดา้ นผูเ้ รียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ มีความสัมพันธก์ ันปานกลาง สว่ นคูที่มีคา่ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธต์ ่ำสุด
คือ ด้านการวัดผลประเมินผลและเทียบโอนผลการเรียนกับด้านผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร
มีความสัมพันธ์กันตํ่า
This research aimed (1) to investigate the conditions of academic administration of the educational
extended schools in Chiang Dao District, Chiang Mai Province, (2) to study the students’ learning
effectiveness of the educational extended schools in Chiang Dao District, Chiang Mai Provinceand (3)
to study the relationship between the academic administration and the students’ learning effectiveness
of the educational extended schools in Chiang Dao District, Chiang Mai Province. The population used
in this study school administrators, deputy school administrators and teachers. There were 286 people.
The tools used in this research were questionnaires about the academic administration and the student’s
learning effectiveness in form of 5-rating scale. The data were analyzed through frequency, percentage,
standard deviation and Pearson’s correlation coefficient.
The findings about the academic administration of the educational extended schools in Chiang
Dao District, Chiang Mai Province revealed that the whole population agreed that the performances were
at the high level. When considering each aspect showing that the population agreed that all aspects were
performed at the high level as well. The aspect with the highest mean was learning and teaching
development whereas the aspect with the lowest mean was to support academic affairs for individuals,
families, organizations, agencies and other educational institutions. The students’ learning effectiveness
of the educational extended schools in Chiang Dao District, Chiang Mai Province showing that the whole
population agreed that the operation was at the high level. When considering each aspect, it was found
that the aspect with the highest mean was that the students had good health and aestheticswhile the
aspect with the lowest mean was that the students had required knowledge and skills based on the
curriculum. According to the relationship between the academic administration and the students’ learning
effectiveness of the educational extended schools in Chiang Dao, Chiang Mai Province, it indicated that
the relationship was entirely positive at the moderate level (r = 0.65) based on the hypothesis as set.
When considering the pair with the highest correlation coefficient: learning development and the student’s
good health and aesthetics, the relationship was moderate while the pair with the lowest correlation
coefficient: measurement, evaluation and grade transfer and student’s required knowledge and skills
based on the curriculum showed that the relationship was low.
Article Details
1. Any views and comments in the FEU Academic Review Journal are the authors’ views. The editorial staff have not to agree with those views and it is not considered as the editorial’s responsibility.
2. The responsibility of content and draft check of each article belongs to each author. In case, there is any lawsuit about copyright infringement. It is considered as the authors’ sole responsibility.
3. The article copyright belonging to the authors and the Far Eastern University are copyrighted legally. Republication must be received direct permission from the authors and the Far Eastern University in written form.