ความเต็มใจของนักศึกษาและบุคลากรในการจ่ายค่าบริการรถตู้โดยสารสาธารณะเส้นทางมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีปลายทางสถานีขนส่งอุบลราชธานี

Main Article Content

ปวีณา คำพุกกะ

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา1) ความเต็มใจที่จะจ่ายค่าบริการรถตู้โดยสารเส้นทางจากมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีปลายทางสถานีขนส่งอุบลราชธานีและ 2) อิทธิพลของพฤติกรรมการเดินทางโดยใช้รถสาธารณะของนักศึกษาและบุคคลกร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีที่มีต่อความเต็มใจที่จะจ่ายค่าบริการรถตู้โดยสารเส้นทางจากมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีปลายทางสถานีขนส่งอุบลราชธานีกลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาและบุคลากร มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จำนวน 800 คนใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นและแบบสะดวกเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ฐานนิยม มัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test F-testและ LSD

ผลการวิจัยพบว่า 1) ความเต็มใจที่จะจ่ายค่าบริการรถตู้โดยสารเส้นทางจากมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีปลายทางสถานีขนส่งอุบลราชธานีเฉลี่ยเท่ากับ 30.85 บาท และ 2) พฤติกรรมการเดินทางที่มีผลต่อความเต็มใจที่จะจ่ายค่าบริการรถตู้โดยสารเส้นทางจากมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีปลายทางสถานีขนส่งอุบลราชธานี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ได้แก่ การเคยใช้บริการประเภทของการใช้บริการและค่าใช้บริการต่อครั้งในการใช้บริการรถโดยสารสาธารณะ

Article Details

Section
Research Articles

References

กนกวรรณ กมลจารุพิศุทธิ์. (2554). ความเต็มใจในการซื้อประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลส่วนเพิ่มของผู้ขับขี่

รถจักรยานยนต์ ในเขตกรุงเทพมหานคร.สารนิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การพัฒนามนุษย์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

กรมบัญชีกลาง. (2557). รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลังจังหวัดอุบลราชธานี Ubonratchathami

Economic & Fiscal Report.[ออนไลน์].สืบค้นเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2557, จาก http://klang.cgd.go.th/ubn/allpaper/EFjan14.pdf.

กรมขนส่งทางบก. (2558). ระบบสารสนเทศด้านกฎหมาย.[ออนไลน์].สืบค้นเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม

, จาก http://elaw.dlt.go.th/.

กิตติพงศ์ แย้มผกา. (2554). การศึกษาความเต็มใจที่จะจ่ายของการให้บริการฐานข้อมูลออนไลน์.ปริญญา

เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ชนิตา พันธุ์มณี และ รภัสสรณ์ คงธนจารุอนันต์. (2555).รายงานวิจัย เรื่อง ความเต็มใจที่จะจ่ายและ

ความสามารถที่จะจ่ายได้สำหรับผักสดอินทรีย์ของผู้บริโภคในจังหวัดเชียงใหม่.มหาวิทยาลัยแม่โจ้.

นัฎฐพงษ์ ขาวขำ.(2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการใช้บริการขนส่งประเภทบุคคลของนักศึกษา

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.เศรษฐศาสตรบัณฑิต คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

รุ่งณิชา ผลสุวรรณ. (2556). ความเต็มใจที่จะจ่ายค่าธรรมเนียมในการเดินทางโดยรถยนต์ส่วนตัวเข้าเขตที่

มีการจราจรหนาแน่นขอบข่ายการศึกษาถนนสีลม. การค้นคว้าอิสระปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ศรัญญา แก้วศรี. (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้ใช้บริการรถโดยสารปรับอากาศเส้นทาง

สุราษฎร์-กรุงเทพฯ ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี.วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

สลิลาทิพย์ ทิพยไกรศร. (2554). ประเทศไทย...เริ่มต้น พัฒนาระบบขนส่งมวลชนอย่างไร. วารสารนัก

บริหาร มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. ปีที่ 31 ฉบับที่ 4 (เดือนธันวาคาม – ธันวาคม 2554) : หน้า 55 – 58.

หฤทัย มีนะพันธ์. (2550). หลักการวิเคราะห์โครงการทฤษฎีและวิธีปฏิบัติเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของ

โครงการ.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อรพรรณ ณ บางช้าง ศรีเสาวลักษณ์. (2552). การศึกษามูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ของโลมาในประเทศ

ไทย. กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง.

เอกวัฒน์พันธาสุ และมนสิชา เพชรานนท์.(2554). พฤติกรรมการเดินทางในเมืองหลักของภูมิภาค: กรณีศึกษาเมืองเชียงใหม่.วารสารวิชาการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์. ปีที่ 10

มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 74-91.

EboliL. and Mazzulla G.(2008). Willingness-to-pay of public transport users forimprovement in

service quality. European Transport TrasportiEuropei n. 38 (2008): 107-118.

Worku G. B. (2013).Demand for Improved Public Transport Services in the UAE: A Contingent

Valuation Study in Dubai.International Journal of Business and Management; Vol. 8 No. 10; 2013: 108- 125.