การพัฒนาตนเองให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้เพื่อเข้าสู่ศตวรรษที่ 21

Main Article Content

จิราภรณ์ พรหมทอง

Abstract

                บทความนี้ได้นำเสนอแนวทางในการพัฒนาตนเองของบุคคลเพื่อก้าวสู่การเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม  เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม   และเทคโนโลยี  ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อบุคคลอย่างเลี่ยงไม่ได้  การพัฒนาตนเองให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษนี้มีความสำคัญ  กล่าวคือ จะทำให้บุคคลได้ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงตนเองให้เป็นคนที่ทันสมัย ทันโลก ทันเหตุการณ์  โดยมีแนวทางในการพัฒนาตนเองให้เป็นบุคคลที่เรียนรู้ตลอดชีวิต อันประกอบด้วยการพัฒนาทักษะพื้นฐานไม่ว่าจะเป็นทักษะด้านการฟัง  การพูด  การอ่าน  การเขียน  การคิด และทักษะ
การปฏิบัติในทุกด้านที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ของบุคคล  การพัฒนาการเรียนรู้ด้านนวัตกรรม  การพัฒนาทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี  ตลอดจนการพัฒนาทักษะที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตของบุคคลในทุก ๆ ด้าน  บุคคลที่พัฒนาตนเองให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 อย่างสม่ำเสมอจะเป็นคนที่มีความรู้  ความสามารถ  มีศักยภาพและมีประสิทธิภาพ   เป็นที่ยอมรับของสังคม  สามารถใช้ชีวิตส่วนตัว อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข  และสามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ   

            The purpose of this article is to be a guideline for self – development to be a learning person in the 21st century. People may not be able to avoid the changes of social, economic, environmental and technological in this century. Self-development to be a learning person in the 21st century is a lifelong learning process and will contribute to improve people professional qualities in any circumstance surrounding and to keep up to date. Therefore, it is especially necessary to develop the skills of listening, speaking, reading, writing, thinking, and the practical skills in all aspects that affect the learning. In addition, it still needs to improve innovative ability, information capability and technological capability. The one who developed own as a learning person in the 21st century will be the one with knowledge, ability, potential and efficiency, and can be accepted by the society, lead to a happy life, and can also solve the problem effectively.

Article Details

Section
Academic Articles
Author Biography

จิราภรณ์ พรหมทอง, ภาควิชาศึกษาทั่วไป คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น

สังคมศาสตร์

References

เอกสารอ้างอิง

ชาญชัย อาจินสมาการ. (2538 ). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมกรุงเทพฯ

เพียงเพ็ญ ทองกล่ำ. (2547). การพัฒนาตนเองสู่ยุคข้อมูลข่าวสาร. สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2559, จาก

www.nrdo.navy.mi.th/jreport/mmaga/maga.

พิณสุดา สิริธรังศรี. (2555). การรู้สารสนเทศ : กลไลการเรียนรู้ในยุคโลกาภิวัฒน์. สืบค้นเมื่อ 21 กุมภาพันธ์

, จาก www. Dpu. ac. th/ edr-health/ file/ if. pdf.

มาตรฐานครูวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2553) กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ.

ราตรี พัฒนรังสรรค์. (2554). พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน. กรุงเทพฯ: ภาควิชาจิตวิทยาและการ

แนะแนว คณะครุศาสตร์สถาบันราชภัฎจันทรเกษม.

วิจารณ์ พานิช. ( 2555 ). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ:มูลนิสดศรี- สฤษดิ์วงศ์

วินัย เพชรช่วย. (2553). การพัฒนาตน. สืบค้นเมื่อ 19 กุมภาพันธ์ 2559, จาก

http://www.novabizz.com/NovaAce/Learning/Self_Development.htm.

วีระวรรณ วรรณโท. (ม.ป.ป ). แบบฝึกการพัฒนาทักษะ การศึกษาค้นคว้า การอ่าน การคิดวิเคราะห์ และ

การเขียน. สืบค้นเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2559, จาก http://202.29.136.140/MediaOnLine/weerawanWMD/unit7.htm.

สุจินต์ ชาวสวน. (2555). บุคคลแห่งการเรียนรู้. สืบค้นเมื่อ 21 กุมภาพันธ์ 2559,จาก

http://beauten28.blogspot.com/2012/12/blog-post.html.

อนุชา โสมาบุตร.(2556). ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมสำหรับการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21.สืบค้นเมื่อ

กุมภาพันธ์ 2559, จาก https://teacherweekly.wordpress.com/2013/09/25/learning-and-

innovation-skills.