ทัศนคติเชิงบวกกับการสร้างแรงงานสัมพันธ์ที่ดีในองค์การ
Main Article Content
Abstract
ทัศนคติเชิงบวก เป็นทัศนคติที่ชักนำให้บุคคลแสดงออกถึงความรู้สึก อารมณ์จากสภาพจิตใจ โต้ตอบ ในด้านดีต่อบุคคลอื่น หรือเรื่องราวใดเรื่องราวหนึ่ง รวมทั้งหน่วยงาน องค์การอื่นๆ ดังนั้น ทัศนคติเชิงบวกย่อมนำมาซึ่งความเชื่อในเชิงพฤติกรรมการมองโลกในแง่ดี โดยเชื่อมโยงกับจิตวิทยาทางบวก จะก่อให้เกิดพลังในการทำงาน และในกระบวนการทำงานนั้น จากการศึกษาสภาพปัญหาการบริหารแรงงานสัมพันธ์ขององค์การต่างๆ ด้วยเหตุผลที่เกิดจากทัศนคติการสื่อสารในการมีส่วนร่วม การทำงานร่วมกันของฝ่ายบริหาร หัวหน้างาน สู่พนักงาน ยังผลให้ประสิทธิภาพงานลดลง นำมาซึ่งการพบกับปัญหา 3 ประการ คือ 1) ขาดการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ 2) มีทัศนคติเชิงลบต่อกัน และ 3) ขาดการทำงานแบบมีส่วนร่วม ดังนั้นการแก้ไขจำเป็นต้องใช้กิจกรรมต่างๆ เพื่อสร้างทัศนคติที่ดีต่อกันระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างผ่านกระบวนการด้านแรงงานสัมพันธ์ ซึ่งในบทความนี้ได้อธิบายปัญหาที่สำคัญของทัศนคติและแรงงานสัมพันธ์มีส่วนเกี่ยวข้องกันอย่างไร รวมถึงเสนอแนวทางแก้ปัญหาเพื่อให้เกิดกระบวนการสื่อสารเพื่อให้พนักงานทำงานร่วมกันด้วยความเข้าใจ การมีส่วนร่วมของพนักงานนำไปสู่การทำงานเป็นทีม การสร้างองค์กรแห่งความสุข
Positive Attitude leads people to express their feeling, emotion, interaction with people and organization. For this reason, Positive Attitude will bring the belief in positive action which involves with positive psychology causing to get working potential. For focusing and studying on labor relations management, found problems in their participating communication attitude on working process. Such as 1) lack of efficiently communication 2) be negative attitude among employee and employer 3) lack of job participation. Method for resolve these obstacle is created an activity by labor relations process. This paper will explain how attitude and labor relations are connected, therefore showing how to manage on this solution by making appropriate communication process, working on employee participation for teamwork and building a happy workplace.
Article Details
1. Any views and comments in the FEU Academic Review Journal are the authors’ views. The editorial staff have not to agree with those views and it is not considered as the editorial’s responsibility.
2. The responsibility of content and draft check of each article belongs to each author. In case, there is any lawsuit about copyright infringement. It is considered as the authors’ sole responsibility.
3. The article copyright belonging to the authors and the Far Eastern University are copyrighted legally. Republication must be received direct permission from the authors and the Far Eastern University in written form.
References
กุลสิรี โค้วสุวรรณ์. (2553). การจัดการทรัพยากรมนุษย์ (ฉบับปรับปรุง). เชียงใหม่: ออเร็นท์ กรุ๊ป.
ทวีศักดิ์ สูทกวาทิน. (2537).การจัดการทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: ทีพีเอ็น เพรส.
พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์. (2547). จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วาสนา ขอนทอง. (2554). แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ขององค์การปกครอง
ส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดกำแพงเพชร. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต.
มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.
วิรัตน์ หมกทอง. (2538). ทัศนคติของปลัดอำเภอต่อตำแหน่งนายอำเภอ. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์. 2548. การวิจัยธุรกิจ. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.
สร้อยตระกูล (ติวยานนท์) อรรถมานะ. 2542. พฤติกรรมองค์การ ทฤษฎีและการประยุกต์. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อริยา คูหา. (2554). จิตวิทยาทางบวก (Positive Psycholoy). รูสมิแล, 32(3), หน้า 78.
มอร์ดิเมอร์ เฟนเบิร์ก. หลักจิตวิทยาการบริหาร.แปลโดย กอปรเชษฐ ตยัคคานนท์.พิมพ์ครั้งที่3. กรุงเทพฯ:เปลวอักษร. 2550
ทาเกะชิ คาวาเซ.คน-ศูนย์กลางของการแก้ปัญหาหลักการบริหารเพื่อการปรับปรุง.แปลโดย ธานี อ่วมอ้อ.พิมพ์ครั้งที่1.กรุงเทพฯ:ห้างหุ้นส่วนจำกัด ชีโน ดีไซน์.2546