การตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าที่ระลึกจากธุรกิจค้าปลีกของนักท่องเที่ยว ในย่านท่องเที่ยว จังหวัดเชียงใหม่

Main Article Content

อภิญญา ศักดาศิโรรัตน์
ดรุชา รัตนดำรงอักษร
พารินทร์รัตน์ ธรรรมหมื่นยอง

Abstract

                   การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าที่ระลึกจากธุรกิจค้าปลีกของนักท่องเที่ยวในย่านท่องเที่ยว จังหวัดเชียงใหม่  เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาได้แก่ นักท่องเที่ยวชาวไทยที่มาเยี่ยมชมหรือซื้อสินค้าที่ระลึก จำนวน 420 คน ใช้วิธีสุ่มแบบสะดวก เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวส่วนใหญ่เดินทางมาท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่มากกว่า 1 ครั้ง การเดินทางเข้ามาในย่านท่องเที่ยวได้ข้อมูลจากญาติ/เพื่อน/คนรู้จัก ซึ่งการเลือกซื้อสินค้าที่ระลึกประเภทผ้าทอมือ งานไม้แกะสลักและเครื่องเงินด้วยตนเอง เนื่องจากเป็นสินค้าเด่นของแต่ละย่าน
มีคุณภาพและความคงทน โดยซื้อของที่ระลึกเพื่อใช้เอง/เป็นของที่ระลึกในการมาท่องเที่ยวในย่านดังกล่าว สำหรับปัจจัยการตลาดค้าปลีกให้ความสำคัญในภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน เมื่อพิจารณารายด้าน
โดยเรียงตามลำดับคะแนนจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านทำเลที่ตั้ง ด้านนโยบายราคา ด้านความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ ด้านการออกแบบร้านและการจัดแสดงสินค้า ด้านพนักงานผู้ให้บริการ และด้านส่วน
ประสมการสื่อสารการตลาด

The purpose of this research is to study the Behavior of Decision Making in Choosing Buy Souvenir from Retail Business of Tourists in the Tourist Destination in Chiang Mai Province. It’s a quantitative research. The sample included Thai tourists who visit the gift shop, or a total of 420 randomized convenient. Data were collected by questionnaire Data were analyzed by using frequency, percentage, average and standard deviation. The research found that The behavior of most tourists traveling in Chiang Mai, more than one time a trip to the tourist information from relatives/friends/acquaintances. Make decision in choosing to buy hand-woven cloth, wood carvings and silverware by themself because of the souvenir is a predominant product in each district, quality and durability.  Tourists buy a souvenir for their own use/as souvenirs to tourists in the area. For the retail market is important to the overall high level in all aspects. When considering each aspect, the descending order, such as the location, price policy, diversity of product, store design and exhibitions, salesperson and marketing communications mix.

Article Details

Section
Research Articles

References

การท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงใหม่. (2556). เชียงใหม่ตั้งเป้าเพิ่มรายได้ท่องเที่ยวปี 56 ร้อยละ 38 สนองนโยบายรัฐ. สืบค้นเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2557, จาก http://www.manager.co.th/Home/ ViewNews.aspx?NewsID=9560000136764.

การสำรวจพฤติกรรมและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่ทำกิจกรรม Shopping & Entertainment. (2553). การวิจัยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.

กรมพัฒนาชุมชน. (2557). ข้อมูลสภาพทั่วไปของจังหวัด. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2558, จากwww.chiangmai.go.th/stategy/str2/1_3.docx.

จารุวรรณ อุชาดี. (2554). ทัศนคติและพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวในจังหวัดขอนแก่น.

วิทยานิพนธ์ บธม. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ดรุชา รัตนดำรงอักษร (2558). การศึกษาเรื่องการพัฒนาบริการที่มีประสิทธิภาพของธุรกิจค้าปลีกสินค้าที่ระลึก ประเภทงานหัตถกรรมในจังหวัดเชียงใหม่. ดุษฎีนิพนธ์ สาขาการจัดการธุรกิจบริการระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดขอนแก่น.

ติพงษ์ ภูมิศาขา. (2551). ส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อของที่ระลึก กรณีศึกษา อ.เมือง จังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ บธม. สาขาการจัดการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต.

วธัญญู สถาพรชัยพณิชย์. (2554). พฤติกรรม การเลือกซื้อสินค้าหัตถกรรมของนักท่องเที่ยวชาวไทย ณ หมู่บ้านถวาย, เอกสารประกอบการสอน คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ประภาพรรณ อุ่นอบ. (2553). การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (Research Design): แผนที่การเดินทางสู่เป้าหมายการวิจัย. เอกสารประกอบการสอน คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

พรทิพย์ บุญเที่ยงธรรม. (2555). การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว ความคาดหวังและ

ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางมาเที่ยวตลาดน้ำ ในเขตตลิ่งชัน จังหวัด

กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ สาขาวิชาการจัดการท่องเที่ยว, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

มนัสสินี บุญมีศรีสง่า. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจและพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อตลาดฉัตรศิลา ในอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. เพชรบุรี: มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี.

ยุทธ ไกยวรรณ์. (2552). วิธีวิจัยทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ:ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพมหานคร.

วรรษมน จันทดิษฐ์. (2552). พฤติกรรมและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยศึกษากรณีตลาดน้ำ

อัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม. วิทยานิพนธ์ บธม., มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

วิบูล จันทร์แย้ม. (2550). พฤติกรรมการเลือกซื้อสินค้าที่ระลึกของประชาชนที่มาเที่ยวจังหวัดลพบุรี.วิทยานิพนธ์ บธม., มหาวิทยาลัยราชภัฎเทพสตรี.

วิภาดา ศุภรัฐปรีชา . (2553). ผลกระทบจากการท่องเที่ยวต่อสังคมและวัฒนธรรมในชุมชนวัดเกต

เชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ บธม. มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์.

สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงใหม่. (2557). สรุปข้อมูลนักท่องเที่ยว. สืบค้นเมื่อ

กุมภาพันธ์ 2558 จาก http://www.cm-mots.com//modules/download/file/2014-

-03-7741393.pdf.

สำนักงานจังหวัดเชียงใหม่. (2556). แผนพัฒนาจังหวัดเชียงใหม่ 4 ปี (พ.ศ.2558-2561)

สืบค้นเมื่อ 23 มีนาคม 2558, จาก http://www.chiangmai.go.th/newweb/data/str2_plan.php.

สันติธร ภูริภักดี. (2554). กลยุทธ์การตลาดเพื่อการแข่งขันสำหรับธุรกิจค้าปลีก. วารสารนักบริหาร, 31(3), 193-198.

อดิศราพร ลออพันธุ์สกุล. (2557). เรื่องรูปแบบการตลาดธุรกิจค้าปลีกสินค้าที่ระลึกประเภทงานหัตถกรรม กรณีศึกษาย่านวัดเกตการาม อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ บธบ. มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น.

อภิญญา ศักดาศิโรรัตน์. (2551). กลยุทธ์การสร้างศักยภาพการแข่งขันธุรกิจหัตถกรรม : การศึกษาย่านธุรกิจหัตถกรรมสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่. ดุษฎีนินพธ์ สาขาการจัดการธุรกิจ, มหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต.

อนุศาสตร์ สระทองเวียน. (2553). Executive Journal : ธุรกิจค้าปลีก ประเทศไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

อาเซียนนิวส์. (2556). การสำรวจ 10 จังหวัดสวรรค์ของนักท่องเที่ยว. สืบค้นเมื่อ 15 มีนาคม 2558, จากwww.aecnews.co.th/travele/read/105.

Cohen, Erick. (2000). The Commercialized Crafts of Thailand, Hill Tribes and Lowland Villages. Surrey: Curzon Press Richmond.

Dale M. Lewison & M. Wayne Delozier. (1989). Retailing. (3rd ed.). London: Merrill.

Mattson,B.E. (1982). Situational influences on store choice. Journal of Retailing. 58(3), 46-58.