การรับรู้ความเสี่ยงของการบริการสายการบินต้นทุนต่ำ
Main Article Content
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของความกังวลความเป็นส่วนตัว การรับนวัตกรรม และอิทธิพลทางสังคมที่มีต่อการรับรู้ความเสี่ยงของการบริการสายการบินต้นทุนต่ำ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ที่เคยใช้บริการสายการบินต้นทุนต่ำภายในประเทศไทย จำนวน 419 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือเท่ากับ 0.813 – 0.905 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยพบว่า ความกังวลความเป็นส่วนตัว การรับนวัตกรรม และอิทธิพลทางสังคม มีผลต่อการรับรู้ความเสี่ยงของการบริการสายการบินต้นทุนต่ำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยสามารถอธิบายการผันแปรของการรับรู้ความเสี่ยงของการบริการสายการบินต้นทุนต่ำได้ร้อยละ 30.90
Article Details
1. Any views and comments in the FEU Academic Review Journal are the authors’ views. The editorial staff have not to agree with those views and it is not considered as the editorial’s responsibility.
2. The responsibility of content and draft check of each article belongs to each author. In case, there is any lawsuit about copyright infringement. It is considered as the authors’ sole responsibility.
3. The article copyright belonging to the authors and the Far Eastern University are copyrighted legally. Republication must be received direct permission from the authors and the Far Eastern University in written form.
References
เกริดา โคตรชารี และวิฏราธร จิรประวัติ. (2556). ปัจจัยนำของการรับรู้ความเสี่ยงและพฤติกรรมการซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคเจเนอเรชั่นเอ็กซ์และเจเนอเรชั่นวาย. วารสารการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา. 6(2): 39-56.
จักรพงษ์ สื่อประเสริฐสิทธ์. (2554). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับเทคโนโลยี: กรณีศึกษาการใช้บริการการสื่อสารระหว่างกันผ่านข้อความและรูปภาพแบบทันทีผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ฐิตยาภรณ์ ธีรานุวรรตน์. (2553). การรับรู้ความเสี่ยง(Perceived Risk) และการรับรู้ถึงความเชื่อมั่นไว้วางใจ (Trust Perception) ของผู้ใช้งานที่ส่งผลต่อความตั้งใจในการใช่บริการ Location-Based Service. การค้นคว้าอิสระปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เทอดศักดิ์ พรรณนา. (2552). พฤติกรรมและปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการของผู้โดยสารสายการบินต้นทุนต่ำ. การค้นคว้าอิสระปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2553). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. กรุงเทพมหานคร: บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.
นิตินัย ศิริสมรรถการ. (2558). ดอนเมืองแชมป์โลก 'คาปา' จัดชั้นสนามบินโลว์คอสต์ผู้โดยสารมากที่สุด. สืบค้นเมื่อ 4 พฤศจิกายน 2558, จาก http://www.thansettakij.com/2015/09/14/10981.
บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน). (2558). สถิติขนส่งทางอากาศ. สืบค้นเมื่อ 3 พฤศจิกายน 2558, จาก http://aot-th.listedcompany.com/transport.html.
ปวีณา คำพุกกะ. (2557). เอกสารประกอบการสอนวิจัยธุรกิจ. อุบลราชธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
พิริยะ ผลพิรุฬห์ (2550). การเดินทางโดยเครื่องบิน: ความเสี่ยงที่ต้องยอมรับ. สืบค้นเมื่อ 30 พฤศจิกายน 2558. จาก http://piriya-pholphirul.blogspot.com/2007/05/blog-post.html.
ภาณุวัฒน์ กองราช. (2554). การศึกษาพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของวัยรุ่นในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วิทวัส อุดมกิตติ. (2549). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับกระบวนการตัดสินใจเลือกซื้อบริการสายการบินต้นทุนต่ำ. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
วีรญา ศรีวัชรกมล. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับเทคโนโลยีการสำรองที่นั่งบัตรโดยสารเครื่องบินทางเว็บไซต์ของสายการบินไทยแอร์เอเชียของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อุทุมพร ธรรมนิยาม. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดราคาของสายการบินต้นทุนต่ำในประเทศไทยหลังจากการเข้าสู่ตลาดของสายการบิน ไทยไลออนแอร์. การค้นคว้าอิสระปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Alessandro, D., Girardi, A. and Tiangsoongnern, L. (2012). Perceived risk and trust as antecedent of online purchasing behavior in the USA gemstone industry. Asia Pacific Journal of Marketing and Logistics. 24(3), 433-460.
Chen, L. (2008). A Model of Consumer Acceptance of Mobile Payment. Journal Mobile Communication. 6(1), 32-52.
Chu, K.K. and Li, C.H. (2008). A Study of the Effect of Risk-reduction Strategies on Purchase Intentions in Online Shopping. International Journal of Electronic Business Management. 6(4), 213-226.
Goldsmith, R.E. and Hofacker, C.F. (1991). Measuring consumer innovativeness. Journal of the Academy of Marketing Science. 19(3), 209-221.
Kesharwani, A. and Bisht, S. Shailendra. (2012). The Impact of trust and perceived risk on internet banking adoption in India. International Journal of Bank Marketing. 30(4), 303-322.
Manzano, A. Joaquin and et al. (2008). The role of consumer innovativeness and perceived risk in online banking usage. International Journal of Bank Marketing. 27(1), 53-75.
Roehrich, G. (2004). Consumer innovativeness: concepts and measurements. Journal of Business Research. 57, 671-677.
Smith, H.J., Milberg, S.J. and Burke, S.J. (1996). Information privacy: measuring individuals’ concerns about organization practices. MIS Quarterly. 20(2), 167-196.
Thakur, R. and Srivastava, M. (2015). A study on the impact of consumer risk perception and innovativeness online shopping in India. International Journal of Retail & Distribution Management. 43(2), 148-166.
Venkatesh, V., Morris, M.G., Davis, F.D. and Davis, F.D. (2003). User acceptance of information technology. Toward a unified view: MIS. 27(3), 425-478.
Yamane, T. (1973). Statistic: An Introductory Analysis. Tokyo: Harper International Edition.
Zikmund, G. William et al. (2010). Business Research Methods. Canada. South-Western: Cengage Learning.