Strategic Communication Management for Symphony Orchestra in the Context of Lanna Culture: A Case Study of The Chiang Mai Youth Philharmonic Band and Symphony Orchestra Foundation

Main Article Content

Pornnapat Chaisathan
Patama Satawedin
Chaiyarit Thongrawd

Abstract

This paper aimed to presenting how the Chiang Mai Youth Philharmonic Band and
Symphony Orchestra Foundation has currently managed its communication and how strategic
communication management should be developed. In-depth interviews were conducted with
policy makers and administrators, stakeholders, and communication management and Lanna
cultural experts. The findings revealed that, in order to achieve the goals of producing high
quality of musicians and being the national symphony orchestra of Chiang Mai, having knowledgeable
and expertise personnel, small, but clear organizational structure, international audience are the

organization’s advantages. In contrast, it was internally and externally limited from financial problems
and limited sponsorships, unavailability of musicians, and perceived opinion as a culture of
extravagant and an invaluable activity. These can be strengthened by luck of no competitors and
having international-knowledge musicians. Integrated marketing communication, especially via
social media was used, moreover. For the betterment of the Chiang Mai Youth Philharmonic Band
and Symphony Orchestra Foundation, systematic and continuous evaluation on operation,
cooperation and collaboration with public and private stakeholders, corporate social responsibility
(CSR), audience segmentation, and the establishment of database and website should be fulfilled.

การศึกษาเรื่องการจัดการการสื่อสารเชิงกลยุทธ์สำหรับวงซิมโฟนีออร์เคสตราในบริบทวัฒนธรรม
ล้านนา กรณีศึกษามูลนิธิวงดุริยางค์เยาวชนเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารจัดการองค์การ และ
แนวทางในการพัฒนาการจัดการการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ เป็นการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยผู้วิจัยจะศึกษาจาก
กลุ่มบุคคล (Key Informants) 3 กลุ่ม ได้แก่ ผู้บริหารระดับสูงและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการการสื่อสารและวัฒนธรรมล้านนา โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลในเชิงพรรณา
ผลการศึกษาพบว่า มูลนิธิวงดุริยางค์เยาวชนเชียงใหม่ มีโครงสร้างขององค์การที่มีความชัดเจน
ในรูปแบบของมูลนิธิ เปน็ องคก์ ารมีขนาดเล็ก มีความคลอ่ งตัวในการบริหารจัดการ โดยการรวบรวมผูมี้ความรู้
และเชี่ยวชาญด้านดนตรี มีจุดประสงค์ในการสร้างนักดนตรีที่ดีมีคุณภาพ และการเป็นวงซิมโฟนีออร์เครสตรา
ประจำจังหวัดเชียงใหม่ โดยมีฐานผู้ชมส่วนใหญ่เป็นชาวต่างชาติที่พำนักในจังหวัดเชียงใหม่
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ทั้งปัจจัยภายใน และปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการบริหารจัดการคือ ปัญหา
ด้านงบประมาณ นักดนตรีขาดแรงจูงใจ และวัฒนธรรมในการดูคอนเสิร์ตยังถูกมองว่าเป็นของแพงและ
ฟุ่มเฟือย โดยจุดแข็งคือ การไม่มีคู่แข่ง และนักดนตรีที่มีคุณภาพ การสื่อสารแบบบูรณาการกับการตลาด
จึงมีบทบาทสำคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านโซเซียลมีเดีย
แนวทางในการพัฒนาการจัดการการสื่อสารมูลนิธิวงดุริยางค์เยาวชนเชียงใหม่ควรมีการประเมินผล
การดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง การจัดหาผู้สนับสนุนจากภาครัฐและเอกชน รวมถึงผู้สนับสนุนอื่น ๆ
การจัดกิจกรรมที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) การจัดประเภทของกลุ่มผู้ฟัง การจัดทำฐานข้อมูล
ของกลุ่มผู้ชมและเว็บไซต์เพื่อให้องค์การสามารถอยู่รอดและเกิดความยั่งยืนต่อไปในอนาคต

Article Details

Section
Research Articles