ความสามารถในการใช้ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงาน วิสาหกิจชุมชนในอำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง
Main Article Content
Abstract
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความสามารถในการใช้ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อการบริหารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานวิสาหกิจชุมชน ในอำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากวิสาหกิจชุมชน ในอำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง จำนวน 128 แห่ง และวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้สัมประสิทธิสหสัมพันธ์ และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่าคณะกรรมการวิสาหกิจชุมชนมีความสามารถในการนำข้อมูลทางการบัญชีบริหารไปใช้ พบว่า ด้านการควบคุม ด้านการตัดสินใจ เป็นตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการทำงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ด้านการวางแผน เป็นตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการทำงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ของการบริหารองค์กรเพิ่มขึ้น สำหรับด้านการสั่งการ เป็นตัวแปรที่มีไม่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการทำงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
The purpose of this research was to study managerial accounting information capability for increasing community enterprise efficiency in Muang Lampang District, Lampang Province. The data was collected from 128 community enterprises Muang Lampang District, Lampang Province. The statistic method analyzed were used the correlation and multiple regression. The result of this study found that community enterprise boardin Muang Lampang District, Lampang Province was capability to increasing managerial efficiency by using managerial accounting informationin planning, controlling and decision making the level of statistic signification were 0.01 and using managerialaccounting information in planning,level of statistic signification were 0.05,but the managerial accounting information was notcapability to increasing for directing management efficiency function.
Article Details
1. Any views and comments in the FEU Academic Review Journal are the authors’ views. The editorial staff have not to agree with those views and it is not considered as the editorial’s responsibility.
2. The responsibility of content and draft check of each article belongs to each author. In case, there is any lawsuit about copyright infringement. It is considered as the authors’ sole responsibility.
3. The article copyright belonging to the authors and the Far Eastern University are copyrighted legally. Republication must be received direct permission from the authors and the Far Eastern University in written form.
References
กนกพัชร มาวิชัย, อัครเดช ฉวีรักษ์ และขจิต ก้อนทอง. (2558). ผลกระทบของประสิทธิภาพการจัดการความเครียดที่มีต่อคุณภาพการปฏิบัติงานของฝ่ายบัญชีของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 7(3), 67 – 80
Kanokphat Mawichai, Aukkaradej Chaveerug and Khajit Konthong. (2015). Effects of Stress Management Efficiency on Working Quality of Accounting Department of Thai Listed Companies. Journal of Accountancy and Management. 7(2), 68 – 80.
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2552). ที่มาและความสำคัญของวิสาหกิจชุมชนในภูมิภาค. สืบค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์ 2559. จาก http://www.sceb.doae.go.th/Ssceb2.htm
Department of Industrial Promotion. (2009). Source and Importance of Community Enterprises in the Region. Retrieved February, 3, 2016. From http://www.sceb.doae.go.th/Ssceb2.htm.
กองส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน. (2559). ที่มาและความสำคัญของวิสาหกิจชุมชนในภาคเหนือ. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2559. จาก http://smce.doae.go.th/smce1/index.php?result=5
Community Enterprise Promotion Division. (2016). Source and Importance of Community Enterprises in Northern Thailand. Retrieved February, 5, 2016. From
http://smce.doae.go.th/smce1/index.php?result=5
กัญฐณา ดิษฐ์แก้ว. (2558). คุณภาพของข้อมูลทางบัญชีบริหาร นวัตกรรมทางการบริหาร การเพิ่มผลผลิตและความได้เปรียบทางการแข่งขันของผู้ประกอบการโรงสีข้าวในเขตภาคเหนือของประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่. 8(1), 47 – 66.
Kanthana Ditkaew. (2015). Managerial Accounting Quality, Management Innovation, Productivity and
Competitive Advantage of Rice Mill Businesses in North region, Thailand. Journal of Modern Management Science. 8(1), 47 – 66.
กุลชญา แว่นแก้ว. (2557). การประยุกต์ใช้ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อเพิ่มความสำเร็จของธุรกิจ SMEs ภาคอุตสาหกรรมการผลิตในจังหวัดศรีสะเกษ. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. 8(2), 182 – 196.
Kulchaya Waenkaeo. (2014). Accounting Information Implementation for Enhance Firm Success of SMEs Manufacturing Firm in Sisaket Province. Sisaket Rajabhat University Journal, 8(2), 182-196.
คมกฤช ภาวศุทธินนท์ และสุภาภรณ์ คงสวัสดิ์. (2554). การบัญชีบริหาร: บทบาทสำคัญในฐานะเครื่องมือสำหรบผู้นำองค์กรยุคใหม่. วารสารนักบริหาร 31(3), 125 – 129.
Komgrit Pavasuttinon and Supaporn Kongsawat. (2001).The Important Role of Managerial Accounting as A Tool for Leaders of Modern Organizations. Executive Journal. 31(3), 125 – 129.
ฐิติกานต์ สุริยะสาร. (2559). ผลกระทบของการประยุกต์ใช้ข้อมูลการบัญชีบริหารที่มีต่อความสำเร็จในการดำเนินงานของธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 8(2), 127 – 140.
Titikarn Suriyasarn. (2016). Effects of Managerial Accounting Information Implementation on Operational Success of the Hotel Businesses in Thailand. Journal of Accountancy and Management. 8(2), 127 – 140.
ณัฐธยาน์ อธิรัฐจิรชัย. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อความต้องการใช้ข้อมูลทางการบัญชีในการตัดสินใจด้านกิจกรรมทางการตลาดของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดสมุรปราการ. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี. 5(1), 105 -120.
Nattaya Atirajirachai. (2016). Factors Affecting the Demand for Using Accounting Information for Decision making on Marketing Activity of Small and Medium Enterprises in Samutprakan Province. Association of Private Higher Education Institutions of Thailand. 5(1), 105 – 120.
ชาตรี บุนนาค. (2558). ที่มาและความสำคัญของวิสาหกิจชุมชนในภาคเหนือ. สืบค้นเมื่อ 3 กุมภาพันธ์. 2559. จาก http://breakingnews.nationtv.tv/home/read.php?newsid=760311
Chatree Boonnak. (2015). Source and Importance of Community Enterprises in Northern Thailand. Retrieved February, 3, 2016. From
http://breakingnews.nationtv.tv/home/read.php?newsid=760311
นิลุบล คงไมตรี, กัญญมน วิทยาภูมิ และไพลิน นิลนิยม. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างความรับผิดชอบทางการบัญชีกับประสิทธิภาพการปฎิบัติงานของนักบัญชีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 7(1), 117 – 127.
Nilubol Khongmaitree, Kanyamon Wittayapoom and Pailin Ninniyom. (2015). The Relationship between Accounting Responsibility and Job Efficiency of Accountants in Local Government Organization, Kalasin Province. Journal of Accountancy and Management. 7(1), 117 – 127.
วารุณี ขำสวัสดิ์ และ สิทธิเดช สิริสุขะ. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานคลังของ องค์การบริหารส่วนตำบลในเขตจังหวัดเพชรบุรี. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn University. 8(1), 565 – 581.
Warunee khumsawad and Sittidej Sirisukha. (2015). Factors Affecting the Fiscal Management Efficiency of Subdistrict Administration Organization in Phetchaburi Province. Veridian E-Journal, Silpakorn University. 8(1), 565 – 581.
ละอองดาว ภูกิ่งหิน, อัครวิชช์ รอบคอบ และอิงอร นาชัยฤทธิ์. (2557) ผลกระทบของการวางแผนการควบคุมภายในแบบบูรณาการที่มีต่อประสิทธิผลการดำเนินงานของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 6(3), 76 - 86.
Laongdow Phookinghin, Aukkarwit Robkob and Ingorn Nachailit. (2014). Effects of Integrated Internal Control Planning on Operational Efficiency of the Electronic Commerce Businesses in Thailand. Journal of Accountancy and Management. 6(3), 76 – 86.
สุธีรา ทิพย์วิวัฒน์พจนา, พิทูร กาญจนพันธ์, สุขเกษม ลางคุลเสน, ณัฐนันท์ ฐิติยาปราโมทย์ และอนุรักษ์ อาทิตย์กวิน. (2555). ความสำเร็จของการปฏิบัติทางบัญชีบริหารและผลการดำเนินงานของวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อมเซรามิกในจังหวัดลำปาง. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง. 1(1), 1 – 11.
Suthira Thipwiwatpotjana, Pitoon Kanjanapan, Sukasem Langkhunsaen, Natthanan Thitiyapramote and Anurak Artitkawin. (2012). Successful Managerial Accounting Practices and Organizational Performance of Ceramics SMEs in Lampang Province. Lampang Rajabhat University Journal. 1(1), 1 – 11.
สำนักงานเกษตรจังหวัดลำปาง. (2548). ที่มาและความสำคัญของวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดลำปาง.
สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2559. จาก http://www.lampang.doae.go.th
Lampang Provincial Agricultural extension office. (2005). Source and Importance of Community Enterprises in Lampang Province. Retrieved February, 5, 2016. From
http://www.lampang.doae.go.th.
สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน. (2559). วิสาหกิจชุมชน. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2559. จาก http://www.sceb.doae.go.th/Ssceb2.htm
Office of the Secretary of Community Enterprise Promotion Commission. (2016). Community Enterprise. Retrieved February, 5, 2016. From http://www.sceb.doae.go.th/Ssceb2.htm
อุษณีย์ เส็งพานิช. (2558). การบัญชีและการใช้ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อการบริหารจัดการของ SMEs ในเขตภาคเหนือ. วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่. 8(2), 101 – 113.
Usanee Sengpanich. (2015). Accounting and the Utilization of Accounting Information for Management of Small and Medium Enterprises in Northern Thailand. Journal of Modern Management Science. 8(2), 101 – 113.
อานันท์ ตะนัยศรี. (2555). ที่มาและความสำคัญของวิสาหกิจชุมชนในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2559. จาก http://ophbgo.blogspot.com/2012/09/blog-post.html
Anan Tanaisri. (2012).Source and Importance of Community Enterprises in Thailand. Retrieved 26 January, 2016. From http://ophbgo.blogspot.com/2012/09/blog-post.html.
Barney, J.B. (1991). “Firm resources and sustainable competitive advantage.” Journal of Management. 17, 99-120.
Nunnally, JC. and Bernstein IH. (1994). Psychometric Theory. New York : McGraw-Hill.