การพัฒนารูปแบบทางเลือกสำหรับอีเลิร์นนิ่งในยุคสังคมออนไลน์

Main Article Content

อรรถวิท ชังคมานนท์
ก่องกาญจน์ ดุลยไชย

Abstract

การนำอีเลิร์นนิ่งไปใช้ในด้านการส่งเสริมประสิทธิภาพด้านการเรียนการสอนในปัจจุบันมีหลากหลาย
รปู แบบซงึ่ เปน็ วิธกี ารเรียนทสี่ ามารถสรา้ งสังคมแหง่ การเรียนรูใ้ หเ้ กิดขนึ้ สรา้ งความสัมพันธร์ ะหวา่ งกันภายใน
กลุม่ ทเี่ รียนรูร้ ว่ มกันและยังสามารถขยายความสัมพันธไ์ ปยังบุคคลภายนอก กลุม่ ทตี่ ดิ ตอ่ หรือแหลง่ ทรัพยากร
ของการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและพึ่งพาช่วยเหลือกันโดยอาศัยเครือข่ายสังคมออนไลน์เข้ารวมกัน
งานวิจัยนี้จึงได้สร้างเครื่องมือประกอบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่ง โดยเพิ่มช่องทางการสื่อสารกันระหว่าง
ผสู้ อนและผูเ้ รียนซงึ่ นำเทคโนโลยีเฟสบุค๊ มาประยุกตร์ ว่ มในระบบเพอื่ เปน็ รูปแบบทางเลือกใหมใ่ นการเชอื่ มโยง
ไปยังสังคมออนไลน์ได้อย่างสะดวก โดยสามารถรับทราบกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านทางเฟสบุ๊คได้
อย่างรวดเร็ว ระบบการจัดการเรียนการสอนพัฒนาขึ้นโดยภาษาจาวา สปริงเฟรมเวิร์ค ร่วมกับโมดูลการแชร์
ของเฟสบุ๊คและระบบฐานข้อมูลมายเอสคิวแอล โดยแบ่งผู้ใช้เป็น 4 ประเภท คือ ผู้เรียน ผู้สอน ผู้บริหารและ
ผู้ดูแลระบบ ระบบนี้ได้นำไปทดลองใช้ในการเรียนการสอนระดับชั้นมัธยมศึกษา จำนวน 5 โรงเรียนและ
มีผลการสำรวจจากกลุ่มประชากรตัวอย่างทั้งหมด 367 คน ผลจากการวิจัยสรุปได้ว่า ค่าความพึงพอใจ
ของระบบการจัดการเรียนการสอนโดยอาศัยเทคโนโลยีเครือข่ายสังคมออนไลน์ในด้านการมีส่วนช่วย
ในการส่อื สารระหว่างผู้สอนและผู้เรียนได้ในระดับมาก

The present application of e-learning to enhance teaching and learning has a variety of
models that can create social learning to occur. Building the relationship within the group to learn
together. And also can expand relations to outsiders or resources of ideas. And rely on the support
based on the social network. Therefore, creating a model for e-learning in the age of social network
by joining Facebook technology to the system. The Learning Management System by Communication
on Social Network (CoSN-LMS) integrates information technology, learning management and social
network media to create the instrument for modern learning management and rapid communication
which can acknowledge the activities of Learning via Facebook immediately. The system was
developed by Java, Spring Framework, Facebook API and MySQL. There is 4 type of users on
CoSN-LMS include learner, instructor, manager, and system administrator. The population for
quantitative research was 5 high school grade level with 367 people. The research conclusion is
that the satisfaction of the system. In the part of communication between teachers and students
contribute in high level.

Article Details

Section
Research Articles
Author Biographies

อรรถวิท ชังคมานนท์, Department of Computer Science, Faculty of Science, Maejo University

Lecturer of Computer Science

ก่องกาญจน์ ดุลยไชย

Lecturer of Computer Science

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

ชัยเดช บุญสอน. (2554). การพัฒนาการะบวนการเรียนออนไลน์ด้วยกรณีศึกษาผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อ ส่งเสริมการเรียนรู้การแก้ปัญหาการควบคุมหุ่นยนต์ สาหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 5. ค.อ.ม. (ครุศาสตร์เทคโนโลยี). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.

ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2546). คู่มืออาจารย์มหาวิทยาลัยในการใช้ e-Learning ในการจัดการเรียน การสอน: Best Practice in teaching with e-Learning. สถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ราตรี นันทสุคนธ์. (2553). หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ: จุดทอง

อุดม รัตนอัมพรโสภณ. (2554). ผลของการสื่อสารในเวลาเดียวกันและต่างเวลาเดียวกันในการเรียนรู้ผ่าน เว็บโดยใช้ปัญหาเป็นหลักที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

โอภาศ เอี่ยมสิริวงศ์. (2551). วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงพฯ : ซีเอ็ด.

Curran Chris. (2004). Strategies for e-learning in University. Research & Occasional Paper Series:

CSHE.7.0. Center for Studies in Higher Education, University of California, Berkeley.

Drissi Samia and Amirat Abdelkrim. (2012). An adaptive educational hypermedia system integrating learning styles: model and experiment. Education and e-Learning Innovations (ICEELI). Sousse, Tunisia.

Feng-Hsu Wang and Dai-Yan Chen. (2008). A Knowledge Integration Framework for Adaptive Learning Systems Based on Semantic Web Languages, IEEE International conference on Advanced Learning. 2008, 64 – 68

Socialbakers. Thailand Facebook page statistics. สืบค้นเมื่อ 17 สิงหาคม 2559, จาก

https://www.socialbakers.com/statistics/facebook/pages/total/thailand

Statista. Number of Facebook users in Thailand from 2015 to 2021 (in millions). สืบค้นเมื่อ 18 สิงหาคม 2559, จาก https://www.statista.com/statistics/490467/number-of-thailand-facebook-users

Tanzila Saba. (2012). Implications of E-learning systems and self-efficiency on students outcomes: a model approach. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2559, จาก http://www.hcis-journal.com/content/2/1/6

Viktor Abovyan, Armen Zakarian, Malayappan Shridhar, Subrata Sengupta. (2012). Virtual Learning Tool – Course Management Software. IEEE International Conference on Technology Enhanced Education (ICTEE). Kerala, India, Jan 3-5, 2012: 1-10.