ระบบตรวจสอบรายชื่อเข้าชั้นเรียนโดยอุปกรณ์อัจฉริยะ
Main Article Content
Abstract
ระบบตรวจสอบรายชื่อเข้าชั้นเรียนโดยอุปกรณ์อัจฉริยะ ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อเปรียบเทียบเวลาที่ใช้
ในการตรวจสอบรายชื่อเข้าชั้นเรียนโดยอุปกรณ์อัจฉริยะกับการตรวจสอบรายชื่อด้วยใบรายชื่อ ผู้ใช้งานของ
ระบบนี้ได้แก่ ผู้สอนและนักศึกษา ผู้สอนสามารถเพิ่มรายวิชา รายชื่อนักศึกษา คะแนนในการตรวจสอบ
รายชื่อเข้าชั้นเรียน และติดตามการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษาแต่ละคนโดยดูจากข้อมูลการเข้าเรียน ขาดเรียน
และมาสาย นักศึกษาสามารถดูข้อมูลและสถิติการเข้าชั้นเรียนของตนเองในแต่ละรายวิชาได้ เมื่อสิ้นสุด
ภาคการศึกษาผูส้ อนสามารถแปลงความถใี่ นการเขา้ ชนั้ เรียนเปน็ คะแนนตามทผี่ สู้ อนกำหนดระบบตรวจสอบ
รายชื่อเข้าชั้นเรียนโดยอุปกรณ์อัจฉริยะถูกนำมาใช้ในรายวิชา คพ344 การพัฒนาระบบซอฟต์แวร์เชิงวัตถุ
2 กลุม่ เรียน ผวู้ จิ ยั เก็บเวลาในการตรวจสอบรายชอื่ ผา่ นระบบตรวจสอบรายชอื่ เขา้ ชนั้ เรียนโดยอุปกรณอ์ จั ฉริยะ
เปรียบเทียบกับเวลาในการตรวจสอบรายชื่อโดยใช้ใบรายชื่อกลุ่มเรียนละ 3 ครั้ง
จากผลการทดลองใช้ระบบที่นำเสนอสามารถสรุปได้ดังนี้ ระบบตรวจสอบรายชื่อเข้าชั้นเรียน
โดยอุปกรณ์อัจฉริยะมีประสิทธิภาพการทำงานที่สูงกว่าระบบการตรวจสอบด้วยใบรายชื่อ โดยระบบที่นำเสนอ
สามารถตรวจสอบรายชื่อนักศึกษาด้วยความเร็ว ถูกต้องและสามารถลดขั้นตอนการทำงานลงครึ่งหนึ่ง
เมื่อเปรียบเทียบกับการตรวจสอบรายชื่อด้วยใบรายชื่อ
The class attendance checking system using a smart device is developed for comparing
the time to attend the class between the proposed system and manual checklist method. The users
of this system are the instructors and the students. The instructors can add the new subjects, the
student list, the score of the classroom participation and follow up each student attendances by
looking up the statistic of the student participation, missing and late. Each student can check their
statistic by themselves in each subject. At the end of the semester, the instructor can transfer the
frequency of student attendance to the score that he has set already. The class attendance checking
system using a smart device was tested in the CS 344 Object Oriented Software Development, 2 sections.
We recorded the time of using the class attendance checking system using a smart device compare
with the time of manual checklist method, 3 times of each section. The conclusion of using the proposed
system is that it is more effective than manual checklist method. Because of this proposed system can
check the students in the class rapidly, correctly and reduces the amount of procedure of class
attendance checking more than half of the amount of procedure of manual checklist method.
Article Details
1. Any views and comments in the FEU Academic Review Journal are the authors’ views. The editorial staff have not to agree with those views and it is not considered as the editorial’s responsibility.
2. The responsibility of content and draft check of each article belongs to each author. In case, there is any lawsuit about copyright infringement. It is considered as the authors’ sole responsibility.
3. The article copyright belonging to the authors and the Far Eastern University are copyrighted legally. Republication must be received direct permission from the authors and the Far Eastern University in written form.
References
ก่องกาญจน์ ดุลยไชย. (2558). Step by step : การสร้างเว็บแอพพลิเคชั่นด้วย JSP และ Servlet. เชียงใหม่: กราฟฟิค/การพิมพ์.
ชวโชติ อาชวกุล. (2013). ระบบเช็คชื่อและจัดการกิจกรรมสำหรับอาจารย์. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร.
พูนเพิ่ม เสรีวิชยสวัสดิ์. (2557). ปัญหาในการใช้งานระบบการเรียนการสอนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาวิทยาลัยดุสิตธานี. วารสารธุรกิจปริทัศน์. 2557(ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2557)), 141 - 158
วริญทร เจนชัย จิติมนต์ อั่งสกุล และธรา อั่งสกุล. (2012). ระบบบันทึกการเข้าชั้นเรียนผ่านบลูทูธ. วารสารเทคโนโลยีสุรนารี. 2012(Vol. 6 No. 1), 37 – 55.
สุทธิวรรณ ตันติรจนาวงศ์. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพร้อมของนักศึกษาสําหรับการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็ กทรอนิกส์ : กรณีศีกษานักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา แขนงวิชาบริหารการศึกษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์. วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ. 2557(ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (ม.ค. – มิ.ย.)), 51 - 64
อาจารี นาโค. (2013). การประยุกต์เครื่องอ่านลายนิ้วมือเพื่อตรวจสอบการเข้าชั้นเรียน. วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ. 2556(ปีที่ 16 ฉบับที่ 3 ฉบับพิเศษ), 11 - 20
Abovyan, V., Zakarian, A., Shridhar, M. and Sengupta, S. (2012). Virtual Learning Tool – Course Management Software. In Technology Enhanced Education, Jan 3-5, 2012. Kerala, India.
Kongkarn Dullayachai and Attawit Changkamanon. (2016). The Performance of Learning Management System by Communication on Social Network.in The 20th International Computer Science and Engineering Conference 2016, 14 – 17 December 2016, Chiangmai Orchid Hotel. Chiangmai: พลอยการพิมพ์.