ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าเฮ้าส์แบรนด์ของผู้บริโภคในจังหวัดสมุทรปราการ กรณีศึกษา บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน)
Main Article Content
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าเฮ้าส์แบรนด์ของผู้บริโภคในจังหวัดสมุทรปราการ กรณีศึกษา บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน)กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริโภคในจังหวัดสมุทรปราการที่เคยซื้อสินค้าเฮ้าส์แบรนด์จากบริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) จำนวน 385 คน โดยการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน โดยกำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าเฮ้าส์แบรนด์ของผู้บริโภคในจังหวัดสมุทรปราการ กรณีศึกษา บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านผลิตภัณฑ์ รองลงมาคือ ด้านช่องทางการจัดจำหน่ายด้านราคา และด้านการส่งเสริมการตลาด 2) การตัดสินใจซื้อสินค้าเฮ้าส์แบรนด์ของผู้บริโภคในจังหวัดสมุทรปราการ กรณีศึกษา บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยขั้นตอนที่มีค่าเฉลี่ยการตัดสินใจสูงสุด คือ ขั้นตอนการรับรู้ความต้องการ รองลงมาคือ ขั้นตอนการค้นหาข้อมูล ขั้นตอน
การประเมินทางเลือก และขั้นตอนการตัดสินใจซื้อ 3) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดด้านการส่งเสริมการตลาด (X4) ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย (X3) และด้านราคา (X2) สามารถร่วมกันพยากรณ์การตัดสินใจซื้อสินค้าเฮ้าส์แบรนด์ของผู้บริโภคในจังหวัดสมุทรปราการ กรณีศึกษา บริษัท บิ๊กซี ซูเปอร์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) ได้ร้อยละ 66.30
This research aimed to study the marketing mix factors that affected the consumer in Samut Prakan Province decision to purchase the House Brand Products, a case study of Big C Supercenter Public Company Limited. The samples consisted of 385 consumers in Samut Prakan Province that decided to purchase the House Brand Products at Big C Supercenter Public Company Limited, using multistage sampling. The research instrument was a questionnaire. The statistics used in data analysis included mean, standard deviation, Pearson product moment correlation coefficient and stepwise multiple regression analysis, determined the statistical significance level of 0.05. The results found that; 1) Overall, the marketing mix factors affecting the consumers in Samut Prakan Province decision to purchase the House Brand Products, a case study of Big C Supercenter Public Company Limited which was at a high level. The product aspect was the highest mean, followed by the place, the price and the promotion respectively. 2) The consumers in Samut Prakan Province decision to purchase the House Brand Products in this case study, overall they had the decision at a high level. In addition to, the highest level of purchase decision was the need arousal ; the subordinate aspects were the information search, the evaluation of alternatives and purchase decision respectively.3) The marketing mix factors on the promotion (X4), the place (X3) and the price (X2) could be predicted the consumer in Samut Prakan Province decision to purchase the House Brand Products, a case study of Big C Supercenter Public Company Limited at 66.30%.
Article Details
1. Any views and comments in the FEU Academic Review Journal are the authors’ views. The editorial staff have not to agree with those views and it is not considered as the editorial’s responsibility.
2. The responsibility of content and draft check of each article belongs to each author. In case, there is any lawsuit about copyright infringement. It is considered as the authors’ sole responsibility.
3. The article copyright belonging to the authors and the Far Eastern University are copyrighted legally. Republication must be received direct permission from the authors and the Far Eastern University in written form.
References
นราศรี ไววนิชกุล และ ชูศักดิ์ อุดมศรี. (2545). ระเบียบวิธีวิจัยธุรกิจ. (พิมพ์ครั้งที่ 13). กรุงเทพฯ: สำนักพิพม์แห่งจูฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Narasri Vaivanijkul and Choosak Udomsri. (2002). Business Research Methodology. (13th ed.). Bangkok: Chulalongkorn University Printing House.
เนติธร ประดิษฐ์สาร, จิรนันท์ ผู้พัฒน์, ณัฐ วงศ์พานิช, และจักรกฤษณ์ จตุปัญญาโชติกุล. (2559). เฮาส์แบรนด์คึกคักรับศก.แย่. สืบค้นเมื่อ 11 เมษายน 2559, จากhttp://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9570000043913.
Netithorn Praditsarn, Jiranan Pupat, Nat Wongpanit, and Jakkrit Jatupanyachotikun. (2016). House Brand Khuek Khak Rap Sàyt-Tà-Gìt Yâe. Retrieved April 11, 2016, from: http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9570000043913.
พรรณี ลีกิจวัฒนะ. (2558). วิธีการวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: มีน เซอร์วิส ซัพพลาย.
Punnee Leekitchwatana. (2015). Research Methods Education. (10th ed.). Bangkok: Mean Service Supply.
พิมพิกา ชวลิต. (2556). พฤติกรรมการบริโภคสินค้าตราเฉพาะ (House Brand) ของผู้บริโภคในจังหวัดเชียงใหม่ : กรณีศึกษา ห้างเทสโก้โลตัส สาขากาดคำเที่ยง. รายงานการวิจัยปัญหาเศรษฐกิจปัจจุบัน. คณะเศรษฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Pimpiga Chaowalit. (2013). Consumer Behavior to House Brand Products of Consumers in Chiang Mai Province A Case Study of TESCO Lotus, Kad Kamtiang. Research Report on Current Economic Problems. Faculty of Economics, Chiang Mai University.
ศุภร เสรีรัตน์. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: เอ อาร์ บิซิเนสเพรส.
Suporn Sererat. (2007). Consumer Behavior. Bangkok: A R Business Press.
Kotler, Philip and Gary Armstrong. (2011). Principles of Marketing. (14th edition). New Jersey: Pearson Prentice Hall.