กลยุทธ์การสร้างความสำเร็จในการสื่อสารการตลาดของธุรกิจออนไลน์
คำสำคัญ:
การสื่อสารการตลาด, ความสำเร็จ, ธุรกิจออนไลน์บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษากลยุทธ์การสร้างความสำเร็จในการสื่อสารการตลาดของธุรกิจออนไลน์ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยทำการสัมภาษณ์เชิงลึกและสนทนากลุ่ม ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 2 กลุ่มคือ กลุ่มผู้ประกอบการ จำนวน 10 คน และผู้ที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญด้านการสื่อสารการตลาด การตลาดออนไลน์ ผู้ดูแลระบบของแพลตฟอร์มที่มีชื่อเสียงและ
กลุ่ม Youtuber จำนวน 10 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลวิจัยพบว่า กลยุทธ์การสร้างความสำเร็จในการสื่อสารการตลาดของธุรกิจออนไลน์ ได้แก่ CAP FC ประกอบด้วย (1) C: Commerce Cost เลือกสื่อสังคมออนไลน์ หรือแพลตฟอร์มที่เหมาะสมโดยคำนึงถึงงบประมาณในการทำโฆษณา (2) A: Admin Communication ให้มีการใช้ Chatbot สำหรับตอบคำถามพื้นฐาน เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการให้ข้อมูล (3) P: Platform Marketing Mix พัฒนาช่องทางออนไลน์ของตนเอง และทำส่งเสริมการขายผ่านแพลตฟอร์มที่มีชื่อเสียง (4) F: Follower Consumer สร้างผู้ติดตาม และ (5) C: Communication Social เลือกช่องทางการสื่อสารออนไลน์ให้ตรงกับกลุ่มเป้าหมาย
References
ธวัชชัย แม่นศร. (2562). กลยุทธ์การนำเสนอสารของเฟซบุ๊กแฟนเพจบริษัททัวร์ชั้นนำของประเทศไทย (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
พงศ์ศรันย์ พลศรีเลิศ. (2558). จริยธรรมทางการตลาดออนไลน์ที่มีผลต่อความเชื่อมั่นของผู้บริโภค. ค้นเมื่อ 6 มีนาคม 2563, จาก https://phongzahrun.wordpress.com/2015/05/24
วิไลภรณ์ สำเภาทอง. (2561). กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดออนไลน์และการสร้างมูลค่าเพิ่มของธุรกิจผลิตภัณฑ์เวชสำอาง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร.
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์กรมหาชน). (2562). รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตในประเทศไทย พ.ศ. 2561. กรุงเทพฯ: กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม.
Belch, G. E. & Belch, M. A. (2017). Advertising and promotion: An integrated marketing communications perspective. (19th edition). Irwin: McGraw-Hill.
Cyr, Dianne. (2008). Modeling Web Site Design Across Cultures: Relationships to Trust, Satisfaction, and E-Loyalty. Journal of Management Information Systems,24(4),47-72.
Etzel, M. J., Walker, B. J. & Stanton, W. J. (2001). Marketing management. Boston, MA.: McGraw-Hill.
Ha, Hong Youl. (2012). The effects of online shopping attributes on satisfaction-purchase intention link: a longitudinal study. International Journal of Consumer Studies, 36(3), 327-334.
Kotler & Keller. (2016). Marketing management: The millennium. (14thed.). New Jersey: Prentice-Hall Inc.
Lamb, C. W., Hair, J. F. & McDaniel, C. (2000). Marketing. United States: South–Western. College Publishing.
Mclean & Wilson. (2016). Secure electronic mail system with thread/conversation opt out. United States Patent, 23(10),1-43.
Rietzen, J. (2007). What is digital marketing?. Retrieved from http://www.mobilestorm.com/ resouces/digital-marketing-blog/whatisdigitalmarketing
Wheelen, L.Thomas and Hunger J David. (2012). Strategic management and business Policy. Toward Global Sustainability. Boston: Pearson Education.
Yen, W.-C. & Tseng, H.T. (2014). Building Buyers' Long-Term Relationships with the B2B
E- Marketplace: the Perspective of Social Capital. Retrieved from http://www.pacis-net.org/file/2014/2202.pdf
Zeff, R. & Aronson, B. (1999). Advertising on the internet. New York: John Wiley & Sons.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และคณาจารย์ท่านอื่นๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว