ปัจจัยการบริหารกับการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปัตตานี

Authors

  • นิเลาะ นิเฮง มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
  • สันติ บุญภิรมย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

Keywords:

ปัจจัยการบริหาร การบริหาร งานวิชาการ ผู้บริหาร โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม

Abstract

The objectives of this research were (1) to study the administrative factors and academic administration of executives, (2) to compare the administrative factors of the executives classified by position, experiences, and schools size, (3) to compare the academic administration of the executives classified by position, experiences and schools size, (4) to study the relationship between administrative factors and academic administration of the executives,

The sample consisted of 375 educational personnel in academic year 2016 which were executives, heads of academic administration, and teachers from Islamic private schools under the Office of Private Education in Pattani Province. Questionnaire was used as the research tool. The statistics used in data analysis consisted of percentage, mean, standard deviation and Pearson correlation coefficient.

The research findings were (1) The administrative factors and academic administrations of the executives as a whole and as an individual aspect were at a high level. (2) The comparative results of administrative factors of the executives classified by position, experience and school size were statistically significant difference at .05 but experience was not different. (3) The comparative results of academic administration of the executives classified by position, experience and school size found that as a whole aspect was not different but position was statistically significant difference at .05. and(4) The relationship between administrative factors and academic administration of the executives as perceived by educational personnel in Islamic private schools under the Office of Private Education in Pattani Province revealed that overall result was positive and at a high level. When each aspect is considered, it was found that every aspect was positive and at a high level which was statistically significant at .01.

References

การศึกษาเอกชนจังหวัดปัตตานี,สำนักงาน. (2558). รายงานผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)ปีการศึกษา 2557. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.opep.go.th. [2558, ธันวาคม 10]
การศึกษาเอกชนจังหวัดปัตตานี,สำนักงาน. (2558). รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2558. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.opep.go.th.[2558, ธันวาคม 10]
การศึกษาเอกชนจังหวัดปัตตานี,สำนักงาน. (2559). รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2558. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.opep.go.th.[2558, ธันวาคม 10]
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สำนักงาน. (2553). คู่มือการประเมินการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. กรุงเทพฯ : พริกหวาน กราฟฟิก จำกัด.
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สำนักงาน. (2550). แนวทางการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาให้คณะกรรมการ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา ตามกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
จรุณี เก้าเอี้ยน. (2557). เทคนิคการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา กลยุทธ์และแนวทางการ ปฏิบัติสำหรับผู้บริหารมืออาชีพ. พิมพ์ครั้งที่ 2. สงขลา : ชานเมืองการพิมพ์.
นินาวาลย์ ปานากาเซ็ง แมงกะจิ. (2552). คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในสามจังหวัดภาคใต้. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. (2542). ราชกิจจานุเบกษา. ฉบับกฤษฎีกา. 116 ตอน 74 ก วันที่ 19 สิงหาคม 2542.
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. (2545). ราชกิจจานุเบกษา. ฉบับกฤษฎีกา. 119 ตอน 123 ก วันที่ 19 ธันวาคม 2545.
เลขาธิการสภาการศึกษา, สำนักงาน. (2552). สภาพการจัดการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้. กรุงเทพฯ : วี.ที.ซี.คอมมินิวเคชั่น.
ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ : ครุสภาลาดพร้าว.
ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545. กรุงเทพฯ : ครุสภาลาดพร้าว.
ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553. กรุงเทพฯ : พริกหวาน กราฟฟิค.
สมคิด บางโม. (2558). องค์การและการจัดการ. พิมพ์ครั้งที่ 7 . กรุงเทพฯ : จูนพับลิชซิ่ง.
สุพรรณนิการ์ บุญเกื้อ. (2551). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อคุณภาพการดำเนินงานวิชาการของโรงเรียนเอกชน. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.
สุรัยยา วามุ. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานของผู้บริหารกับการปฏิบัติงานวิชาการของครูตามทัศนะของครูในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม.วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
สันติ บุญภิรมย์. (2552). หลักการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ : บุ๊ค พอยท์.
สันติ บุญภิรมย์. (2553). การบริหารงานวิชาการ. พิมพ์ครั้งที่ 2 . กรุงเทพฯ : บุ๊ค พอยท์.
สันติ บุญภิรมย์. (2553). นวัตกรมการบริหารการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2 . กรุงเทพฯ : บุ๊ค พอยท์.
สันติ บุญภิรมย์. (2557). การวิจัยทางการศึกษาและการวิจัยทางการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น.
สัลมาน สะบูดิง. (2551). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2552). สภาพการจัดการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด วี.ที.ซี. คอมมิวนิเคชั่น.
อันวารุดดีน ดอเล๊าะ. (2557). ปัจจัยสถานศึกษากับการบริหารงารวิการในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามจังหวัดปัตตานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา.
อาอีด๊ะ เจ๊ะแว. (2558). ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการ โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดปัตตานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและการจัดการอิสลามศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

Downloads

Published

2020-01-23