اختلاف الفقهاء في الاحتجاج بالحديث وأثره في الفقه الإسلامي: دراسة تحليلية في باب صفة الصلاة من كتاب المجموع للنووي نموذجا

Authors

  • صاحب النصري بن مونج
  • إسماعيل لطفي جافاكيا

Abstract

ملخص البحث

 

هذا البحث بعنوان: "اختلاف الفقهاء في الاحتجاج بالحديث وأثره في الفقه الإسلامي: دراسةتحليلية في باب صفة الصلاة من كتاب المجموع للنووي نموذجا" يهدف إلى معرفة 1) مفهوم الاختلاف وأسبابه وأنواعه وآدابه و2) كتاب المجموع ومكانته عند العلماء ومؤلفه ومنهج تأليفه بشكل موجز و3) شروط الاحتجاج بالحديث المتفق عليها بين العلماء والمختلف فيها و4) المسائل المتعلقة بصفة الصلاة التي حصل الخلاف بين الفقهاء في الاحتجاج بالحديث، وقد اتبع الباحث في كتابة هذا البحث المنهج الاستقرائي والتحليلي.

          توصلت الدراسة إلى عدد من النتائج، وأهمها ما يلي: 1) أن الاختلاف هو أن يذهب العالم المجتهد إلى خلاف ما ذهب إليه الآخر في القول بُغية إصابة الحكم الشرعي وأهم أسبابه تسعة، وله قسمان: اختلاف تنوع وتضاد، وعند حدوثه آداب خمسة ينبغي الاتصاف بها و2) أن شرح النووي للمهذب إلى أثناء باب "الربا" فأدركته المنية، ثم شرح السبكي في مجلدين، فأكمل محمد نجيب المطيعي الشرح في تسع مجلدات، وهو مطبوع متداول بأكمله و3) أن لقبول خبر الآحاد شروطا خمسة يتفق عليها العلماء والآخر مختلف فيها و4) مسائل الصلاة التي اختلف فيها الفقهاء في الاحتجاج بالحديث كثيرة، وقد اختار الباحث سبع مسائل: مسألة وضع اليد اليمنى على اليسرى أو الإرسال في القيام، ومسألة محل وضع اليدين في القيام، ومسألة في القراءة في الصلاة، ومسألة رفع اليدين عند الركوع وعند الرفع منه، ومسألة تقديم الركبة أو اليدين في السجود، ومسألة في وجوب السلام، ومسألة القنوت في  الصبح. وسبب اختلافهم في الاحتجاج بالأحاديث في هذه المسائل يرجع إلى ثمانية أمور: التعارض بين الحديثين والتعارض بين مفهوم الحديث والتعارض في استنباط الحديث والتعارض في بيان معنى الحديث والتعارض في فهم معنى الحديث والاختلاف في نسخ الحديث والاختلاف في درجة الحديث والاختلاف في الاحتجاج بخبر الآحاد.

 

 

 

ABSTRACT

 

This research entitled: The disagreement among the Islamic scholars on the proof of Hadith and its impact on Islamic jurisprudence: Analytical study of prayer descriptions from the book of Nawawi as a model. It aims to find out about 1. Prominent scholars’ differed on Hadith and its causes, types and etiquettes 2. Concept of the book, scholar prestige, author and briefly explanation on his publications 3. Terms of evidence agreed upon and disagreed on Hadith. 4. The question relates to prayers and disagreement among the Islamic scholars on the proof of Hadith . Researcher has followed in this thesis an inductive and comparative analytical approach.

This study reached a number of the subsequent conclusions, the most important as follows: 1. The disagreement which the scholars’ dispute on the view of others based on rule of Islamic law. The most important reasons for the differences are nine, which have two sections: diversity and contrast, when it occurs then etiquette attitude of the scholars has to be maintained. 2. The explained of Nawawi on a good manner which is divided into two chapters; interest “ ribbah”  was at the end of his life, then followed by Sabuki’s explanation  in two compilations and finally completed by Mohammad Najib Mothiae  who explained in nine folders, and the entire folders are rounded among people. 3. Acceptance of the one’s narrated hadith is among the five conditions agreed upon by the scholars, but other prominent scholars disagreed on it.4. The question of prayer which scholars differed in accepting one narrated hadith, there are many of viewpoints but the researcher has chosen seven from it. Question of placing the right hands on the left hands while standing up; the question of placing hands while standing up; the question of reading in prayer; the question of raising hands when lifting from bowing down and bowing up; the question of the knee or hands in prostration; the question of ending prayer by giving Salam; the question of making benediction while praying fajir “Qunoot”. The reason for scholars’ differences on giving evidence of hadith on these issues due to eight things: disagreement between two hadith; the disagreement between understanding the concept of hadith; opposed statement of the meaning; disagreement on the explanation of hadith; disagreement on the meaning of hadith; disagreement on abolition of value of Islamic rules; disagreement on the degree of hadith; disagreement on one narrated hadith.

 

บทคัดย่อ

 

ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาเรื่อง “ ความเห็นต่างของบรรดาฟุกอฮาอฺในการอ้างอิงเป็นหลักฐานโดยใช้หะดีษและผลกระทบในด้านฟิกฮ์อิสลาม ศึกษาวิเคราะห์คุณลักษณะการละหมาดในหนังสืออัล-มัจญ์มูอฺ อัน-นะวะวีย์ ” มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา 1) ความหมาย สาเหตุ ประเภทและมารยาทของความเห็นต่าง 2) หนังสืออัล-มัจญ์มูอฺและสถานะในมุมมองของอุละมาอ์ ประวัติผู้แต่งและลักษณะรูปแบบของการแต่งหนังสือนี้ 3)เงื่อนไขที่อุละมาอ์เห็นพ้องกันและเห็นต่างกันในการอ้างอิงโดยใช้หะดีษ 4) ปัญหาเกี่ยวกับคุณลักษณะการละหมาดที่บรรดาฟุกอฮาอฺมีความเห็นต่างโดยใช้หะดีษในการอ้างอิงเป็นหลักฐาน ผู้วิจัยได้ใช้ระเบียบการวิจัยเชิงอุปนัยและวิเคราะห์เปรียบเทียบ

ผลการวิจัยครั้งนี้ได้พบว่า 1) ความเห็นต่างระหว่างอุละมาอ์นั้นคือความเห็นต่างกันที่ต่างฝ่ายต่างมุ่งหาความถูกต้องและเที่ยงตรงเกี่ยวกับหุกุมในศาสนา และสาเหตุที่สำคัญที่นำไปสู่ความเห็นต่างมี 9 ชนิด ในส่วนความเห็นต่างเองนั้นแบ่งเป็น 2 ชนิด และในส่วนของมารยาทหลักที่ควรยึดถือเมื่อมีความเห็นต่างนั้นมี 5 คุณลักษณะ 2) อัน-นะวะวีย์ได้ขยายความหนังสืออัล-มุฮัษษับถึงหัวข้อ “อัล-ริบา”ท่านได้เสียชีวิตหลังจากนั้น อัส-สุบกี ได้มาขยายความต่ออีกถึง 2 เล่ม ท่านก็เสียชีวิตและต่อมา มูหัมมัดนะญีบ อัลมุฎีอี ได้ขยายความต่ออีกถึง 9 เล่มซึ่งได้ตีพิมพ์เป็นฉบับที่สมบูรณ์ 3) มี 5 เงื่อนไขที่บรรดาอุละมาอ์เห็นพ้องกันในการยอมรับเคาะบัรอาหาดใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงและมีความเห็นต่างในเงื่อนไขอื่นๆ 4) ประเด็นปัญหาการละหมาดที่อุลามาอฺมีทัศนะเห็นต่างในการอ้างอิงเป็นหลักฐานโดยใช้หะดีษมีมาก แต่ผู้วิจัยเลือกเป็นกรณีศึกษาเพียง 7 ประเด็นคือ ประเด็นการวางมือขวาบนมือซ้ายหรือปล่อยมือทั้งสองข้างในขณะที่ยืนละหมาด ประเด็นตำแหน่งการวางมือทั้งสองข้างในขณะที่ยืนละหมาด ประเด็นการอ่านซูเราะอฺอัลฟาติฮะในละหมาด ประเด็นการยกมือขณะรูกัวะอ์และลุกจากรูกัวะอ์ ประเด็นเมื่อจะสุญูดวางหัวเข่าก่อนหรือวางมือก่อน ประเด็นวายิบการกล่าวสลาม ประเด็นการอ่านกุนูตในละหมาดศุบหฺ ซึ่งสาเหตุที่เกิดความเห็นต่างของบรรดาฟุกอฮาอฺในการอ้างอิงเป็นหลักฐานโดยใช้หะดีษในประเด็นเหล่านี้มี 8 ประการคือ ขัดกันระหว่างสองหะดีษ ขัดกันระหว่างนิยามของหะดีษ ขัดกันในเรื่องการวินิจฉัยของหะดีษ ขัดกันในเรื่องอธิบายความหมายของหะดีษ ขัดกันในเรื่องความเข้าใจความหมายของหะดีษ เห็นต่างใน หะดีษที่ถูกยกเลิก เห็นต่างในเรื่องระดับของหะดีษ และเห็นต่างในเรื่องอ้างอิงเป็นหลักฐานกับเคาะบัรอาฮาด 

Downloads

Published

2018-02-04