ผลการใช้กระบวนการทางภูมิศาสตร์ร่วมกับเทคนิคการเรียนรู้เสมือนจริง ที่มีต่อความสามารถในการคิดเชิงพื้นที่ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
DOI:
https://doi.org/10.14456/ojed.2024.9คำสำคัญ:
ความสามารถในการคิดเชิงพื้นที่, กระบวนการทางภูมิศาสตร์, เทคนิคการเรียนรู้เสมือนจริง, Geographic inquiry process, Virtual learning techniques, Spatial Thinking abilityบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ศึกษากระบวนการทางภูมิศาสตร์ร่วมกับเทคนิคการเรียนรู้เสมือนจริงที่มีต่อความสามารถในการคิดเชิงพื้นที่ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย มีวัตถุประสงค์การวิจัย คือ 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดเชิงพื้นที่ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการทางภูมิศาสตร์ร่วมกับเทคนิค การเรียนรู้เสมือนจริง และ 2) เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงของความสามารถในการคิดเชิงพื้นที่ในแต่ละองค์ประกอบ ได้แก่ 1) การใช้แนวคิดเกี่ยวกับพื้นที่ 2) การใช้ตัวแทนความคิด และ 3) การใช้กระบวนการให้เหตุผล ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการทางภูมิศาสตร์ร่วมกับเทคนิคการเรียนรู้เสมือนจริง กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 38 คน โรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดกรุงเทพมหานคร ที่เรียนวิชาสังคมศึกษา สาระภูมิศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567 โดยการเลือกแบบเจาะจง ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบก่อนการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย แบบวัดความสามารถในการคิดเชิงพื้นที่ แผนการจัดการเรียนการสอนด้วยกระบวนการทางภูมิศาสตร์ร่วมกับเทคนิคการเรียนรู้เสมือนจริง บันทึกหลังการทำกิจกรรม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที รวมทั้งวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนมีความสามารถใน การคิดเชิงพื้นที่หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรม การเรียนรู้โดยใช้กระบวนการทางภูมิศาสตร์ร่วมกับเทคนิคการเรียนรู้เสมือนจริงเปลี่ยนแปลงไปในระดับที่ดีขึ้นทั้งในภาพรวมและจำแนกตามองค์ประกอบ
References
ภาษาไทย
กนก จันทรา. (2561). การรู้เรื่องภูมิศาสตร์ Geo-literacy Learning for our planet ถอดบทเรียนประสบการณ์การจัดการ
เรียนรู้ภูมิศาสตร์ในชั้นเรียนที่เสริมสร้างการรู้เรื่องภูมิศาสตร์. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กฤตยาภรณ์ วงศ์เพิ่ม. (2564). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือโดยใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางภูมิศาสตร์
ร่วมกับเทคโนโลยีโลกเสมือนจริง เรื่อง เอเชีย ออสเตรเลียและโอเชียเนีย สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. วารสารเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มมส, 10(4), 55-65. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/etcedumsujournal/article/view/245932
จินตวีร์ คล้ายสังข์ และ เขมณัฏฐ์ มิ่งศิริธรรม. (2562). รู้รอบวัฒนธรรมจากห้องเรียนเสมือนจริง การออกแบบระบบจาก
งานวิจัยสู่แนวปฏิบัติ. วารสารครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 47(1), 42-62. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/EDUCU/article/view/179717
ฉัตรชัย พงศ์ประยูร. (2549). แนวความคิดใหม่ทางภูมิศาสตร์. บริษัทมิสเตอร์ก๊อปปี้ (ประเทศไทย) จำกัด.
เฌอณรินทร์ วรรณรัตนางกูร. (2562). การพัฒนาการรู้เรื่องภูมิศาสตร์ในการเรียนภูมิศาสตร์ทวีปเอเชียของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยกระบวนการทางภูมิศาสตร์ร่วมกับเทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์
[วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร]. Dspace silpakorn university
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2704
ธีรวุฒิ เชื้อพระชอง, ชรินทร์ มั่งคั่ง, และ จารุณี ทิพยมณฑล. (2564). การจัดการเรียนรู้กระบวนการภูมิศาสตร์เพื่อพัฒนา
ทักษะการคิดแบบองค์รวมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนสารภีพิทยาคม.
วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 6(1), 412-424. https://cmudc.library.cmu.ac.th/frontend/Info/item/dc:158272
เลเกีย เขียวดี. (2555). การพัฒนารายวิชาภูมิศาสตร์กายภาพสำหรับครูเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเชิงพื้นที่สำหรับนักศึกษา
โปรแกรมวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร [การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่] http://cmuir.cmu.ac.th/handle/6653943832/12520
วรรณี แกมเกตุ. (2551). วิธีวิทยาการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศิริศักดิ์ ทิพย์ทวีชาญ. (2563). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนตามแนวคิดเชิงทฤษฎีของกระบวนการทางปัญญาในการนึกภาพเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงพื้นที่ของนักศึกษาครู [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR). http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/76662
สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระภูมิศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
ภาษาอังกฤษ
Fraenkel, J. R., Wallen, N. E., & Hyun, H. H. (2015). How to design and evaluate research in education (9th
ed). Mcgraw-hill humanities/Social sciences/Languages.
Gersmehl, P. J., & Gersmehl, C. A. (2007). Spatial thinking by young children: Neurologic evidence for early
development and “Educability”. Journal of Geography, 106(5), 181-191. https://doi.org/10.1080/00221340701809108
Golledge, R. G. (2002). The nature of geographic knowledge. Annals of the Association of American
Geographers, 92(1), 1-14. https://doi.org/10.1111/1467-8306.00276
Hillstrom, J. E. (2019). Virtual place-based learning in interdisciplinary contexts: A psychological
perspective and a meta-analytic review. In R. D. Lansiquot & S. P. MacDonald (Eds), Interdisciplinary perspectives on virtual place-based learning (pp. 13-34). Palgrave macmillan. https://doi.org/10.1007/978-3-030-32471-1_2
Jo, I., & Bednarz, S. W. (2009). Evaluating geography textbook questions from a spatial perspective: Using
concepts of space, tools of representation, and cognitive processes to evaluate spatiality. Journal of Geography, 108(1), 4-13. https://doi.org/10.1080/00221340902758401
Lee, J., & Bednarz, R. (2011). Components of spatial thinking: Evidence from a spatial thinking ability test.
Journal of Geography, 111(1), 15-26. https://doi.org/10.1080/00221341.2011.583262
Moysey, S. M. J., & Lazar, K. B. (2019). Using virtual reality as a tool for field-based learning in the earth
sciences. In R. D. Lansiquot & S. P. MacDonald (Eds.), Interdisciplinary perspectives on virtual place-based learning. Palgrave macmillan. https://doi.org/10.1007/978-3-030-32471-1_7
National research council, D. o. e., Life studies, Board on earth sciences, Geographical sciences committee, Committee on support for thinking spatially the incorporation of geographic information science across the k-12 curriculum. (2005). Learning to think spatially. National academies press.
Oberle, A. (2020). Advancing students’abilities through the geo-inquiry process. Journal of
Geography, 119(2), 43–54. https://doi.org/10.1080/00221341.2019.1698641
Park, L. (2019). Virtual reality as a pedagogical tool for Interdisciplinarity and place-based education. In R.
D. Lansiquot & S. P. MacDonald (Eds.), Interdisciplinary perspectives on virtual place-based learning. Palgrave macmillan. https://doi.org/10.1007/978-3-030-32471-1_3
The National Geographic Society. (2020). Geo-inquiry process: Educator guide.
https://www.nationalgeographic.org/wp-content/uploads/2023/08/Geo-Inquiry_Educator_Guide_K-2.pdf
Wallgrün, J. O., Knapp, E., Taylor, A., Klippel, .A., Zhao, J., & Sajjadi, P. (2021, May 17-June 10). Place-based
learning through a proxy-variations in the perceived benefits of a virtual tour [Paper presentation]. 2021 7th International conference of the immersive learning research network (iLRN), Eureka, California, United States of America. https://doi: 10.23919/iLRN52045.2021.9459380.
Xie, S., Zheng, X., Sun, Y., Wan, J., & Lu, X. (2021). The factors and mechanisms that influence geospatial
thinking: A structural equation modeling approach. Journal of Geography, 120(5), 165–175. https://doi.org/10.1080/00221341.2021.1967423
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.