การเทศน์ของพระบวชใหม่ในเทศกาลเข้าพรรษา

Main Article Content

พระธัญวัฒน์ ธีรปญฺโญ (วัฒนวงษ์)

บทคัดย่อ

         การบวชของชำยไทยในประเทศไทยปัจจุบัน นอกจะบวชด้วยควำมศรัทธำในหลักธรรมคำสอน มุ่งปฏิบัติเพื่อมรรคผลนิพพำนแล้ว ยังมีกำรบวชเพื่อศึกษำเล่ำเรียน และบวชตำมประเพณี คือบวชในระยะสั้น 1 พรรษำบ้ำง 1 เดือนบ้ำง 15 วันบ้ำง หรือ 7 วันบ้ำง แล้วแต่โอกำสจะเอื้ออำนวย กำรบวชเป็นค่ำนิยมสืบทอดมำตั้งแต่สมัยอยุธยำ โดยในอดีตพ่อแม่มักส่งลูกหลำนบวชเรียน เนื่องจำกไม่มีทุนทรัพย์ในกำรส่งให้เรียนต่อ แต่ปัจจุบัน ค่ำนิยมในกำรส่งลูกหลำนบวชเรียนน้อยลง สำเหตุเพรำะรัฐได้จัดกำรศึกษำทั่วทุกพื้นที่ของประเทศไทย ในขณะเดียวกัน ลูกหลำนที่สมัครบวชเรียนก็ลดน้อยลงด้วย แต่ที่ยังนิยมกันอยู่คือบวชตำมประเพณีในระยะสั้น โดยมีวัตถุประสงค์บวชเพื่อทดแทนบุญคุณของพ่อแม่ อำจบวชเพื่ออยู่จำพรรษำ 3 เดือนบ้ำง หรือ 7 วันบ้ำง เมื่อบวชเข้ำมำแล้ว ก่อนลำสิกขำ บำงพื้นที่มีประเพณีนิยมว่ำ พระบวชใหม่ก่อนลำสิกขำต้องกลับไปเทศน์ให้พ่อแม่ได้ฟังก่อน กำรเทศน์ให้พ่อแม่ฟังก่อนลำสิกขำนั้น มีวัตถุประสงค์ 3 อย่ำงคือ 1) เป็นญำตัตถจริยำ คือ กำรประพฤติตนเป็นประโยชน์แก่พ่อแม่ ญำติพี่น้อง เพื่อให้บุคคลเหล่ำนั้นได้มีโอกำสฟังธรรมจำกพระบวชใหม่ 2) กำรเทศน์ให้พ่อแม่ฟัง ถือเป็นกำรทดแทนบุญคุณขั้นสูงสุด เพรำะได้ทำตำมแบบอย่ำงพระพุทธเจ้ำ ที่ทรงเทศน์โปรดพระเจ้ำ สุทโธทนะ และเทศน์โปรดพุทธมำรดำบนสวรรค์ชั้นดำวดึงส์ 3) พระบวชใหม่ได้พัฒนำตนเอง เนื่องจำกก่อนเทศน์ ต้องสอบถำมครูอำจำรย์ ต้องอ่ำนหนังสือ ต้องฝึกซ้อมกำรเทศน์ ทำให้ตนเองได้มีควำมรู้ในเรื่องที่นำไปเทศน์ด้วย

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมกำรศำสนำ กระทรวงวัฒนธรรม. (2562). วันเข้าพรรษา. เรียกใช้เมื่อ 13 กันยำยน 2562 จำก https://www.m-culture.go.th/mculture_th60/download/H3.pdf.

จ. เปรียญ. (2518). ประเพณีและพิธีมงคลไทย. กรุงเทพมหำนคร: ธรรมบรรณำคำร.

นฤดี น้อยศิริ. (ม.ป.ป.). คู่มือการบวช. พระนครศรีอยุธยำ: กลุ่มส่งเสริมศำสนำ ศิลปะและวัฒนธรรม สำนักงำนวัฒนธรรมจังหวัดพระนครศรีอยุธยำ.

ผจงจิตต์ อธิคมนันทะ. (2543). สังคมและวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพมหำนคร: มหำวิทยำลัยรำมคำแหง.

พระธรรมโกศำจำรย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (มปป.). หลักการและวิธีการเทศนา. กรุงเทพมหำนคร: วัดประยุรวงศำวำส.

พระพรหมคุณำภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2557). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพมหำนคร : บริษัท สหธรรมิก จำกัด

พระมหำอเนก มหคฺฆปุญฺโญ (พัดไธสง). (2556). กำรศึกษำวิเครำะห์กำรล่วงละเมิดพระพุทธบัญญัติของภิกษุฉัพพัคคีย์. ใน วิทยานิพินธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพระพุทธศาสนา, มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย.

มหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหำนคร: โรงพิมพ์มหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย.

สมปรำชญ์ อัมมะพันธ์. (2536). ประเพณีและพิธีกรรมในวรรณคดี. กรุงเทพมหำนคร: โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮ้ำ.

สำนักพัฒนำคุณธรรมจริยธรรม กรมกำรศำสนำ กระทรวงวัฒนธรรม. (2547). การหล่อเทียนพรรษา. กรุงเทพมหำนคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์กำรเกษตรแห่งประเทศไทย.

หลวงพ่อทัตตชีโว. (2561). บวชในช่วงเข้ำพรรษำ ดีอย่ำงไร. เรียกใช้เมื่อ 25 สิงหำคม 2562 จำกwww.dhammakaya.net/blog/2012/07/07/บวชเข้ำพรรษำ-ดีอย่ำงไร.

OK NATION. ( 2552) . วั น เ ข้า พ ร ร ษา . เ รี ย ก ใ ช้ เ มื่ อ 2 5 สิ ง ห หำ ค ม 2 5 6 2 จำ ก http://oknation.nationtv.tv/blog/print.php?id=463759