อิทธิพลของการรับรู้ ความน่าเชื่อถือ และทัศนคติที่มีผลต่อการยอมรับนวัตกรรมธนาคารบนมือถือ แอปพลิเคชันกรุงไทย เน็กซ์ FACTORS INFLUENCING INNOVATION ADOPTION OF MOBILE BANKING KRUNGTHAI NEXT

Main Article Content

นงนุช หนูหงส์

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


          การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับนวัตกรรมธนาคารบนมือถือ แอปพลิเคชัน กรุงไทย เน็กซ์ ของธนาคารกรุงไทย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับนวัตกรรม โดยมีตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาคือ การรับรู้ ความน่าเชื่อถือ ทัศนคติ และการยอมรับนวัตกรรม ของผู้ใช้บริการ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย โดยเก็บข้อมูลจากลุ่มตัวอย่างผู้ใช้บริการธนาคารบนมือ แอปพลิเคชัน กรุงไทย เน็กซ์ ของธนาคารกรุงไทยจำนวน 400 คน ใช้วิธีการเลือกสุ่มตัวอย่างแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็น (Non-Probability sampling) คือ แบบบังเอิญหรือตามสะดวก ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคล พฤติกรรมการใช้งาน และทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติเชิงอนุมาน วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ตัวแปร Pearson Correlation และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis)

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เอกสารอ้างอิง

ธนาคารกรุงไทย. (2562).(ออนไลน์).(สืบค้นเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2562). จาก ธนาคารกรุงไทย https://www. ktb.co.th/th/krungthai-update/news-detail/281.

ธนาคารแห่งประเทศไทย.(2562).(ออนไลน์). ธนาคารแห่งประเทศไทย. (สืบค้นเมื่อวันที่ 23 กันยายน 2562).http://www2.bot.or.th/statistics/ ReportPage.aspx?Report lD=688&language=th.

David,1989. The Theory of Reasoned Action: TRA Hamid,Adnan Abd.;

Abdul Razak, Fahmi Zaidi: Bakar, Wab Salihin: 2015

พรชนก พลาบูลย์. (2558). การยอมรับนวัตกรรมและเทคโนโลยี การใช้เทคโนโลยี และพฤติกรรมผู้บริโภคที่ส่งผลต่อความตั้งใจของประชาชนในการใช้บริการธุรกรรมทางการเงินผ่านระบบพร้อมเพย์ (Prompay) ของรัฐบาลไทย. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: บริษัท ธีระฟิล์ม และไซ

เท็กซ์ จำกัด.

มาริสา พิทักษ์ และคณะ (2559). กระบวนการสร้างความน่าเชื่อถือผ่านการสื่อสารขณะสัมภาษณ์งานของผู้ถูกสัมภาษณ์ในตำแหน่งผู้จัดการฝ่ายขายบริษัทโมเดิร์นคาส อินเตอร์เนชั่นแนล คอสเมติคส์ จำกัด. Veridian E-Journal. ปีที่ 2. หน้า 968-990.

Mullins W. John; Boyd JR. Harper W; Walker JR. Orville C; Larreche Jean Claude. (2006). Marketing Management A strategic Decision-Making Approach. n.p.

กุณฑลี รื่นรมย์. (2549). การวิจัยการตลาด. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์.

Kotler, P. (2012). Marketing Management. USA: Courier Kendallville.

ณัฐวุฒิ เปรมปราชญ์. (2015). การยอมรับนวัตกรรมแอพพลิเคชั่นฟังเพลงแบบสตรีม

มิ่ง KKBOX บนสมาร์ทโฟนของผู้ใช้ในเขตกรุงเทพมหานคร. คณะวารสารศาสตร์

และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ปวิตรา นาควิเชียร. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับโมบายคอมเมิร์ซ

เปรียบเทียบ ระหว่าง เนอเรชั่นเอ็กซ์ และ เจเนอเรชั่นวาย. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

Payam Hanafizadeh et al (2012). Mobile-banking adoption by Iranian bank clients. n.p.