การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนอาชีวศึกษาที่มีต่อสื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษผ่านแอปพลิเคชัน VOCATIONAL STUDENTS' SATISFACTION TOWARDS THE ENGLISH LEARNING APPLICATION
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนอาชีวศึกษาที่มีต่อสื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษผ่านแอปพลิเคชั่น EchoVE (เอคโค่วี) วิทยาลัยเทคนิคฉะเชิงเทรา กลุ่มเป้าหมายที่ศึกษา คือ นักเรียนวิทยาลัยเทคนิคแห่งหนึ่งในจังหวัดฉะเชิงเทราจำนวน 240 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการศึกษาพบว่า ความพึงพอใจของนักเรียนอาชีวศึกษาที่มีต่อสื่อการเรียนรู้ภาษาอังกฤษผ่านแอปพลิเคชั่นทั้งในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก
Article Details
References
เอกสารอ้างอิง
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). รายงานการสังเคราะห์ตัวชี้วัดด้านการศึกษาไทยตามกรอบเป้าหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: สำนักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.(2560). แผนยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาวิทยาลัยเทคนิค ฉะเชิงเทรา ประจำปีงบประมาณ 2560 – 2564 (ระยะ 5 ปี). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2560). แผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.
คู่มือ EchoVE. (2561). คู่มือการดำเนินการและหน้าที่เจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ EchoVE Center. กรุงเทพฯ: สภาคริสตจักรในประเทศไทย.
สุทธิพงศ์ สุวรรณเดชากุล.(2560). การพัฒนาแอปพลิเคชั่นบนมือถือสาหรับสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของช่างไฟฟ้า การประปาส่วนภูมิภาคเขต 5. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์).
Chen, G. (2017). Relationship Between Patient Satisfaction and Physician Characteristics. Journal of Patient Experience, 4(4), 177-184.
ภาณุเดช เพียรความสุข. (2558). ความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการให้บริการของสำนักส่งเสริม
วิชาการและงานทะเบียนมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. (งานวิจัยทุนสนับสนุนจากสำนัก
ส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน, มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี).
วิวรรณ สารกิจปรีชา. (2554). การศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่างคุณลักษณะของผู้ปกครองกับ
พฤติกรรมการมีส่วนรวมของผู้ ปกครองในการสร้างเสริมการเรียนรู้ของนั กเรียนโรงเรียนอนุบาล กุ๊กไก่ เขตคลองเตยกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ).
สมพร โกมารทัต. (2559). การศึกษาการใช้กลยุทธ์การเรียนภาษาต่างประเทศของนักศึกษาระดับ
ปริญญาตรีใน กรุงเทพฯและปริมณฑล. (วิจัยทุนอุดหนุน, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
ภาสกร เรืองรองและคณะ. (2557). เทคโนโลยีการศึกษากับครูไทยในศตวรรษที่ 21. วารสาร
ปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 5 ฉบับพิเศษ ประจำเดือนพฤษภาคม 5(5), 195-205.
อลงกรณ์ อู่เพ็ชร. (2560). ผลการเรียนรู้ร่วมกันแบบผสมผสานที่มีต่อความสามารถในการทำงาน
กลุ่มวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี4 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ).
ปรียา ผาติชล. (บรรณาธิการ). (2560). Blended learning. วารสารเดอะ โนวเลจ (The Knowledge), 1(6), 10-11.
รมณียา สุรธรรมจรรยา. (2558). ผลการใช้แอปพลิเคชั่นสาหรับสอนคาศัพท์ภาษาอังกฤษบน แท็บเล็ตวิชาภาษาอังกฤษสาหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สังกัดสานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร).
ศศิธร ลิจันทร์พร. (2556). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมเป็นฐานโดยใช้แอปพลิเคชั่น
เพื่อการศึกษาบนอุปกรณ์สื่อสารเคลื่อนที่เพื่อส่งเสริมความมีวินัยของนักเรียนประถมศึกษา
ตอนปลาย. OJED, 9(4), 15-16.
ศิริพงศ์ พฤทธิพันธุ์. (2553). ระเบียบวิธีวิจัยสาหรับธุรกิจ. กรุงเทพฯ: ฮาซันพริ้นติ้ง.
ศศิธร บุญชุม. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อท่อไอเสียดัดแปลงสำหรับตกแต่งรถจักรยานยนต์ของผู้บริโภคในจังหวัดลำปาง กรณีศึกษาร้านหนึ่งโมดิฟาย. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเนชั่น).
สิงหนาท น้อมเนียน. (2559). การศึกษาทัศนคติและความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน
ภาษาอังกฤษโดยใช้สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ Eng24 (รายงานผลการวิจัย). นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.
จักรพันธุ์ ตัณฑัยย์. (2558). การศึกษาความพึงพอใจในการใช้งานแอปพลิเคชั่นสิทธิพิเศษต่อ ความภักดีต่อตราสินค้า: กรณีศึกษาแอปพลิเคชั่นกาแล็คซี่ กิ๊ฟท์. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์).
Best, John.(1977).Research in Education. New Jersey:Prentice Hall, Inc.1977.
รัตนะ บัวสนธ์. (2551). การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษา. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
เอื้อมพร หลินเจริญ. (2559). เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ. วารสารคณะศึกษาศาสตร์,
(1), 27-29.