ชุดตรวจจับการรั่วไหลของแก๊สแอลพีจีผ่านคลื่นวิทยุสำหรับรถยนต์ วิทยาลัยเทคนิคพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก

Main Article Content

นวภัทร์ อุทัยรัตน์

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


           การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างชุดตรวจจับการรั่วไหลของแก๊สแอลพีจีผ่านคลื่นวิทยุ 2) เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของชุดตรวจจับการรั่วไหลของแก๊สแอลพีจีผ่านคลื่นวิทยุสำหรับรถยนต์ และ 3) เพื่อหาความพึงพอใจของผู้ใช้งานที่มีต่อชุดตรวจจับการรั่วไหลของแก๊สแอลจีผ่านคลื่นวิทยุสำหรับรถยนต์ กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ครูแผนกวิชาช่างยนต์ จำนวน 24 คน โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมินความเหมาะสมและเป็นไปได้ แบบทดสอบเพื่อหาประสิทธิภาพ แบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน


           ผลการวิจัยพบว่า  1) การประเมินความเหมาะสม และความเป็นไปได้ของการสร้างชุดตรวจจับการรั่วไหลของแก๊สแอลพีจีผ่านคลื่นวิทยุสำหรับรถยนต์ พบว่า ด้านความเหมาะสม และด้านความเป็นไปได้ ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2) ประสิทธิภาพของชุดตรวจจับการรั่วไหลของแก๊สแอลพีจีผ่านคลื่นวิทยุสำหรับรถยนต์ คิดเป็นร้อยละ 80 และ 3) ความพึงพอใจของผู้ใช้งานที่มีต่อชุดตรวจจับการรั่วไหลของแก๊สแอลพีจีผ่านคลื่นวิทยุ พบว่า ความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด

Article Details

บท
วารสารวิชาการ T-VET Journal สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3

References

เอกสารอ้างอิง

[1] เอ็นจิเนีย ออโต้ เซอร์วิส. (ม.ป.ป.). [ออนไลน์]. ข้อมูลอุปกรณ์แก๊ส ติดรถยนต์.
[สืบค้นวันที่ 2 กรกฏาคม 2564]. จาก https://bit.ly/3ia7AHL
[2] นิคม ลนขุนทด. (2557). [วารสารออนไลน์]. “โปรแกรมควบคุมระบบการตรวจจับปริมาณแก๊ส
แอลพีจีในห้องครัว ด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ พร้อมระบบส่งสัญญาณเตือนภัย” วารสาร
วิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์. ฉบับที่ 1 ปีที่ 9
[3] ทันพงษ์ ภู่รักษ์. (2559). [ออนไลน์]. Arduino IDE ซอฟต์แวร์สำหรับโปรแกรมภาษา C.
(เอกสารประกอบการสอน วิชาไมโครคอนโทรลเลอร์เบื้องต้น). [สืบค้นวันที่ 12 สิงหาคม
2564]. จาก http://www.sbt.ac.th/new/sites/default/files/TNP_Unit_2.pdf
[4] ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2556). “การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน.” วารสารศิลปากร
ศึกษาศาสตร์วิจัย. ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 : 7-8
[5] นิคม ลนขุนทด. (2557). [บทคัดย่อออนไลน์ ]. โปรแกรมควบคุมระบบการตรวจจับปริมาณแก๊ส
แอลพีจีในห้องครัวด้วยไมโครคอนโทรลเลอร์ พร้อมระบบส่งสัญญาณเตือนภัย. อาจารย์
สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎ
สุรินทร์. [สืบค้นวันที่ 10 สิงหาคม 2564]. จาก https://bit.ly/3y81qMY
[6] ศิริพร เพชรชํานาญ, จิรวัฒน์ แท่นทอง และกฤตเมธ ขุนฤทธิ์แก้ว. (2561). [บทคัดย่อออนไลน์ ].
แอพพลิเคชันตรวจจับก๊าซไวไฟด้วยอินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่ง. วิทยาลัยการคอมพิวเตอร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต. [สืบค้นวันที่ 10 สิงหาคม 2564]. จาก
https://www.computing.psu.ac.th/profile/backend/upload/530862289.5988
[7] ยุทธนา ดีเทียน และธงรบ อักษร. (2560). [บทคัดย่อออนไลน์ ]. ระบบแจ้งเตือนเหตุอัคคีภัยผ่าน
เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม. [สืบค้นวันที่ 10 สิงหาคม 2564].
จาก http://ir.swu.ac.th/jspui/bitstream/123456789/5085/2/PRO2395.pdf

[8] ชูศรี วงศ์รัตนะ (2550). เทคนิคการใช้สถิติเพื่ออการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 10. นนทบุรี : ไทยเนรมิต
กิจอินเตอร์ โปรเกรสซิฟ.
[9] บุญครอง วิวัฒน์วานิชวงศ์, พงศ์ศักดิ์ สุวรรณทา และวีรวัฒน์ อุทธโยธา. (2557). ระบบตรวจจับ
แก๊สและแจ้งเตือนอัตโนมัติผ่านเครือข่าย GSM. หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชา
วิศวกรรมโทรคมนาคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี.
[10] วันชัย เจือทรัพย์, วิไรวรรณ แสนชะนะ และคัชรินทร์ ทองฝัก. (2564). การพัฒนาระบบรักษา
ความปลอดภัยในการใช้ก๊าซหุงต้มในครัวเรือน. สาขาวิชาทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.
[11] สุรศักดิ์ ชัยพรรคพานิช และธงชัย ทรงกลิ่น. (2562). [วารสารออนไลน์]. อุปกรณ์เตือนก๊าซ
(แอลพีจี)รั่วไหลในครัวเรือน(WARNING DEVICE OF GAS LEAKIN). [สืบค้นวันที่ 12
สิงหาคม 2564]. จาก http://vein3.pe.hu/