แนวทางการบูรณาการเทคโนโลยีสำหรับครูภาษาอังกฤษในยุควิถีถัดไป ฐิตารีย์ จันทรวัทน์ พิชญาภา ยวงสร้อย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์หลักในการนำเสนอแนวทางการบูรณาการเทคโนโลยี
สำหรับครูภาษาอังกฤษในยุควิถีถัดไปซึ่งเป็นช่วงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทั้งในด้านการดำเนินชีวิตและในด้านของเทคโนโลยีสื่อสารที่มีความจำเป็นอย่างมากที่จะต้องปรับ แนวทางการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษโดยใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีเพื่อส่งเสริม การเรียนรู้ตลอดชีวิตอีกทั้งรูปแบบของการสอนที่จะสนับสนุนให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพและมีการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การแก้ปัญหา และการทำงานร่วมกันส่งผลให้ผู้เรียนมีองค์ความรู้และทักษะภาษาอังกฤษ ที่นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้จริงตลอดจนเสนอแนวทางในการเลือกใช้สื่อการเรียน รู้จากเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการฝึกฝนทักษะภาษาอังกฤษให้กับผู้เรียนต่อไป
Article Details
How to Cite
บท
บทความวิชาการ
References
[1] อนุชัย ธีระเรืองไชยศรี. (2561). ข้อกำหนดการพัฒนารายวิชาเพื่อ การเรียนการสอนในระบบเปิด (Thai MOOC) ระยะที่ 2. โครงการพัฒนารายวิชาเพื่อการเรียนการสอนใน ระบบเปิด (Thai MOOC) ระยะที่ 2 . กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา.
[2] เจตน์สฤษฎิ์ สังขพันธ์ เก็ตถวา บุญปราการ และวันทนา ไกรฤกษ์. (2558). สภาพและปัญหาการเรียนรู้ภาษา อังกฤษของโรงเรียนระดับ มัธยมศึกษาสังกัดเทศบาลในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้. รายงานการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 6 ณ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
[3] ชัยวัฒน์ แก้วพันงาม. (2561). แนวทางในการผสมผสานดิจิทัล เทคโนโลยีเพื่อการสอนภาษา. กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยศิลปากร.
[4] Stanley, G. (2013). Language Learning with Technology: Ideas for Integrating Technology in the Classroom. Cambridge: Cambridge University Press.
[5] สุกัญญา แช่มช้อย. (2560). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. พิษณุโลก: พิษณุโลกดอทคอม.[
[6] ระพีพรรณ สุฐาปัญณกุล และวิสาข์ จัติวัตร์. (2558). การพัฒนารูปแบบการสอนภาษาอังกฤษ เทคนิคโดยวิธีการสอนที่เน้นภาระงานและโครงงานเพื่อพัฒนาการอ่านภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจและความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาปริญญาตรี. เอกสารประกอบ การประชุมน าเสนอผลงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ระดับชาติมหาวิทยาลัยศิลปากร ปี พ.ศ. 2558. มหาวิทยาลัยศิลปากร
[7] Yi-Ru Regina Chen (2016) The Effect of Information Communication Technology Interventions on Reducing Social Isolation in the Elderly: A Systematic Review. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://www.jmir.org/2016/1/e18. (2564, 15 มีนาคม).
[2] เจตน์สฤษฎิ์ สังขพันธ์ เก็ตถวา บุญปราการ และวันทนา ไกรฤกษ์. (2558). สภาพและปัญหาการเรียนรู้ภาษา อังกฤษของโรงเรียนระดับ มัธยมศึกษาสังกัดเทศบาลในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้. รายงานการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 6 ณ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
[3] ชัยวัฒน์ แก้วพันงาม. (2561). แนวทางในการผสมผสานดิจิทัล เทคโนโลยีเพื่อการสอนภาษา. กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยศิลปากร.
[4] Stanley, G. (2013). Language Learning with Technology: Ideas for Integrating Technology in the Classroom. Cambridge: Cambridge University Press.
[5] สุกัญญา แช่มช้อย. (2560). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. พิษณุโลก: พิษณุโลกดอทคอม.[
[6] ระพีพรรณ สุฐาปัญณกุล และวิสาข์ จัติวัตร์. (2558). การพัฒนารูปแบบการสอนภาษาอังกฤษ เทคนิคโดยวิธีการสอนที่เน้นภาระงานและโครงงานเพื่อพัฒนาการอ่านภาษาอังกฤษ เพื่อความเข้าใจและความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาปริญญาตรี. เอกสารประกอบ การประชุมน าเสนอผลงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ระดับชาติมหาวิทยาลัยศิลปากร ปี พ.ศ. 2558. มหาวิทยาลัยศิลปากร
[7] Yi-Ru Regina Chen (2016) The Effect of Information Communication Technology Interventions on Reducing Social Isolation in the Elderly: A Systematic Review. [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก: https://www.jmir.org/2016/1/e18. (2564, 15 มีนาคม).