การพัฒนาทรัพยากรทางการท่องเที่ยวในเขตภาคกลางตอนล่าง 1 และ 2 สำหรับกลุ่มผู้สูงอายุชาวไทย

作者

  • ฐิติมา พูลเพชร คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • ระชานนท์ ทวีผล

关键词:

ผู้สูงอายุ, การท่องเที่ยว, ทรัพยากร

摘要

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษาองค์ประกอบของทรัพยากรทางการท่องเที่ยวที่ส่งผลต่อความต้องการของกลุ่มนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวไทยในเขตภาคกลางตอนล่าง 1 และ 2 2) ศึกษาการพัฒนาทรัพยากรทางการท่องเที่ยวในเขตภาคกลางตอนล่าง 1 และ 2 สำหรับกลุ่มผู้สูงอายุชาวไทย การวิจัยเป็นการวิจัยแบบผสมผสาน ด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ กับการวิจัยเชิงคุณภาพ  สถิติที่ใช้ คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการถดถอยพหุคูณ การเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกผลการวิจัยพบว่า 1)องค์ประกอบของทรัพยากรทางการท่องเที่ยวที่ส่งผลต่อความต้องการของกลุ่มนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวไทยในเขตภาคกลางตอนล่าง 1 และ 2มากที่สุดคือ ด้านความปลอดภัย รองลงมา คือ ด้านการส่งเสริมสุขภาพ และด้านกิจกรรม 2) การพัฒนาทรัพยากรทางการท่องเที่ยว  ด้านการประเมินสภาพการณ์ของทรัพยากร  ได้แก่ ลักษณะพฤติกรรมของกลุ่มผู้สูงอายุ รูปแบบการเผยแพร่ข้อมูลประชาสัมพันธ์ข้อมูลการท่องเที่ยว  ความปลอดภัยของแหล่งท่องเที่ยวระบบการคมนาคมขนส่งให้มีความสะดวกสบาย  สิ่งดึงดูดใจภายในแหล่งท่องเที่ยวและการออกแบบกิจกรรม และธุรกิจบริการและสิ่งอำนวยความสะดวก

参考

กองวิจัยการตลาด การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2562). รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาพฤติกรรมนักท่องเที่ยวชาวไทยท่ีมีศักยภาพในการใช้จ่าย ปี 2561. กรุงเทพมหานคร: การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2562). ททท. เดินหน้าต่อยอด 5 เส้นทางท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล รับศักราชใหม่ชวนเที่ยวไทยอย่างเท่าเทียม.สืบค้นเมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2563, เว็บไซต์ http://thaifest.tourismthailand.org/index.php?page=content &id=1171.

กรมการท่องเที่ยว. (2561).แผนยุทธศาสตร์พัฒนาการท่องเที่ยว พ.ศ. 2561 – 2564 ของกรมการท่องเที่ยว. กรุงเทพมหานคร: วีไอพี ก็อปปี้ปริ้น.

กลุ่มงานบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1. (2562). แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 1 (กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี) พ.ศ. 2562 – 2565 (ฉบับทบทวน). ราชบุรี: ศูนย์ปฏิบัติการราชบุรี.

กลุ่มงานยุทธศาสตร์และข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัด. (2561).แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง 2 (จังหวัดสมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์) พ.ศ. 2561 – 2565 (ฉบับทบทวน). สมุทรสงคราม: สำนักงานจังหวัดสมุทรสงคราม.

กนกวรรณ อบเชย และ รุ่งกมล โพธิสมบัติ (2562). สังคมสูงวัยกับการใช้เทคโนโลยีเพื่อการสื่อสาร. วารสารธรรมศาสตร์, 10(3), 20-23.

จันทร์จิรา สุขบรรจุง. (2559). การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของหนานมดแดง อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง. ปริญญานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

มนัสสินี บุญมีศรีสง่า และ มินตรา สดชื่น (2560). รูปแบบการใช้สื่อโซเชียลมีเดียของผู้สูงอายุในสังคมไทย กรณีศึกษาเขตกรุงเทพมหานคร, การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 9 และราชมงคลสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ยั่งยืนสู่ประเทศไทย 4.0,7-8สิงหาคม 2560 ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็คเมืองทองธานี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.

ภูพฤทธิ์ กันนะและ จอมภัค คลังระหัด. (2560). พฤติกรรมการท่องเที่ยวของผู้สูงอายุ ในอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคิรีขันธ์. การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 9 และราชมงคลสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ยั่งยืนสู่ประเทศไทย 4.0, 7-8สิงหาคม 2560 ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็คเมืองทองธานี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์.

ประกิจ ลอยเลิศฤทธิ์ และระชานนท์ ทวีผล. (2560). การประเมินศักยภาพขององค์ประกอบการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุในจังหวัดเพชรบุรี กรณีศึกษา: พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน. การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลครั้งที่ 9 และราชมงคลสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ยั่งยืนสู่ประเทศไทย 4.0, 7-8 สิงหาคม 2560 ณศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็คเมืองทองธานี, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์( หน้า 497-504).

ปริญญา นาคปฐม และระชานนท์ ทวีผล. (2561). การพัฒนาคุณภาพงานบริการทางการท่องเที่ยวสำหรับกลุ่มผู้สูงอายุ. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 12(1), 255-269.

ปิ่นฤทัย คงทองและ วีรยา มีสวัสดิกุล. (2562). แนวทางการจัดการความปลอดภัยทางการท่องเที่ยวของอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคิริขันธ์ในฐานะจุดหมายปลายทางของนักท่องเที่ยวต่างชาติ. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 13(1), 403-414.

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา และเพ็ญศิริ ศรีอำภา. (2557). การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. นนทบุรี: ธรรมสาร จำกัด.

เบญจรัตน์ มรรยาทอ่อน และโตมร สุขปรีชา. (2563). TAT Reviews Sixty is Sassy. นนทบุรี: ภาพพิมพ์ จำกัด.

พรสวรรค์ มโนพัฒนะ (2553). อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเบื้องต้น(พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ศิรินันทน์พงษ์นิรันดร,โอชัญญา บัวธรรม และชัชชญายอดสุวรรณ (2559). แนวทางในการพัฒนาศักยภาพการจัดการท่องเที่ยวอำเภอวังน้ำเขียวจังหวัดนครราชสีมา.วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 9(1), 353-360.

ศศิกาญจน์ สกุลปัญญวัฒน์ (2557).พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุชาวมุสลิมกรณีศึกษาอ.องครักษ์ตำบลองครักษ์จ.นครนายก. วารสารพยาบาลทหารบก,15(3), 334-359.

Cochran,W. (1977). Sampling Technique. 3rd Edition. New York: John Wiley & Sons.

Yin, R. K. (2003).Case study research: design and methods. Thousand Oaks, CA:Sage Publications.

##submission.downloads##

已出版

2021-06-26

##submission.howToCite##

พูลเพชร ฐ., & ทวีผล ร. . (2021). การพัฒนาทรัพยากรทางการท่องเที่ยวในเขตภาคกลางตอนล่าง 1 และ 2 สำหรับกลุ่มผู้สูงอายุชาวไทย. Business Administration and Management Journal Review, 13(1), 225–244. 取读于 从 https://so01.tci-thaijo.org/index.php/bahcuojs/article/view/241852

栏目

Research Articles