กลยุทธ์ส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยวที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจในการท่องเที่ยวของ ประชากรรุ่นแซดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

作者

  • พรรษกฤช ศุทธิเวทิน สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการบริการและการท่องเที่ยว คณะมนุษยศาสตร์และการจัดการการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
  • ภูเกริก บัวสอน

关键词:

กลยุทธ์ส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยว, ประชากรรุ่นแซด, แรงจูงใจในการท่องเที่ยว

摘要

การวิจัยนี้ศึกษากลยุทธ์ส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยวที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจในการ
ท่องเที่ยวของประชากรรุ่นแซดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยมีวัตถุประสงค์ 1)
เพื่อศึกษาอิทธิพลของกลยุทธ์ส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยวที่มีต่อแรงจูงใจในการท่องเที่ยวของ
ประชากรรุ่นแซดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 2) เพื่อศึกษาแนวทางกลยุทธ์ส่งเสริม
การตลาดการท่องเที่ยวของประชากรรุ่นแซดในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ผู้วิจัยได้ใช้
ระเบียบวิธีการวิจัยผสมผสาน (Mixed Method) ดังนี้ 1) การวิจัยเชิงปริมาณด้วยการสำรวจกับกลุ่ม
ตัวอย่างอายุระหว่าง 16 - 20 ปี จำนวน 420 คน จากกรุงเทพมหานคร จังหวัดนครปฐม นนทบุรี
ปทุมธานี สมุทรปราการ และสมุทรสาคร โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือที่
ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยง
เบนมาตรฐาน และ Multiple Regression 2) การวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้

ข้อมูลจำนวน 28 คน มีการเลือกแบบเจาะจง ได้แก่ ผู้บริหารจากหน่วยงานภาครัฐ ผู้บริหารจากภาค
เอกชนและผู้ประกอบการ และตัวแทนกลุ่มประชากรรุ่นแซด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบ
สัมภาษณ์เชิงลึก และใช้การพรรณนาข้อมูลเชิงเนื้อหา (Content Analysis) ผลการศึกษาพบว่า 1)
กลยุทธ์ส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยวมีอิทธิพลต่อแรงจูงใจในการท่องเที่ยวของประชากรรุ่นแซด
ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
2) แนวทางกลยุทธ์ส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยวของประชากรรุ่นแซดในเขตกรุงเทพ
มหานครและปริมณฑล คือ การโฆษณาผ่านช่องทางสังคมออนไลน์ การประชาสัมพันธ์ผ่านช่อง
ทางสังคมออนไลน์ หนังสือพิมพ์ และนิตยสาร การขายโดยบุคคลผ่านช่องทางออนไลน์ และการ
ส่งเสริมการขายด้วยวิธีการลดราคา

##submission.authorBiography##

##submission.authorWithAffiliation##

สาขาวิชาการจัดการอุตสาหกรรมการบริการและการท่องเที่ยว
คณะมนุษยศาสตร์และการจัดการการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
9/1 หมู่ 5 ถนนพหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง ปทุมธานี 12120

参考

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2547). รายงานการทบทวนสถานการณ์เรื่องพฤติกรรมทางเพศ
ของวัยรุ่น: การเสริมสร้างทักษะชีวิตและการให้ค?ำปรึกษา. กรุงเทพฯ: กรมสุขภาพจิต กระทรวง
สาธารณสุข.
กองกลยุทธ์การตลาด การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. (2558). บทสรุปผู้บริหาร สถานการณ์การเดินทางท่อง
เที่ยวปี 2558 และคาดการณ์ปี 2559. สืบค้นเมื่อ 30 เมษายน 2560, จากการท่องเที่ยวแห่ง
ประเทศไทย เว็บไซต์:http://tatic.tourismthailand.org/.
ชาคริต อ่องทุน และประสพชัย พสุนนท์. (2559). ปัจจัยการตลาดที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจด้านเทคโนโลยี
ในการซื้อสินค้าและบิการผ่านเฟสบุ๊ค ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก.
วารสารธุรกิจปริทัศน์, 8(2), 21-33.
ข่าวสารการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.(2558). ททท.สรุปทิศทางการส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยวของไทย
ปี 2559 เน้นมั่นคง มั่นคั่ง ยั่งยืน.สืบค้นจาก. http://www.tatnewsthai.org/detail.php?news-
ID=3969.
ฉลองศรี พิมลสมพงศ์. (2557). การวางแผนและพัฒนาตลาดการท่องเที่ยว. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ: ส?ำนัก
พิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ฉนั ทชั วรรณถนอม. (2554). การวางแผนและการจดั รายการนำ? เทีย่ ว. กรงุ เทพฯ: หา้ งหนุ้ สว่ น จำ? กดั สามลดา.
ด?ำรงค์ พิณคุณ. (2558). CREATIVE MARKETING การตลาดสร้างสรรค์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: ส?ำนัก
พิมพ์ ด?ำรง พิณคุณ จ?ำกัด.
ธีรยุส วัฒนาศุภโชค. (2550, 14 พฤศจิกายน). Generation Z: ใหม่ล่า...มาแรง. กรุงเทพธุรกิจ, หน้า14.
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2556). อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมสาร จ?ำกัด.
บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา. (2555). พฤติกรรมนักท่องเที่ยว. นนทบุรี: หจก. เฟริ์นข้าหลวง พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
พิชามญชุ์ มะลิขาว. (2554). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นผ่านสื่อสังคมออนไลน์เฟซบุ๊ค.
วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
เพ็ญนิภา พรพัฒนนางกูร. (2551). ทัศนคติและพฤติกรรมการซื้อเสื้อผ้าแฟชั่นน?ำเข้าจากต่างประเทศของ
วัยรุ่น. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
รัชนีกร นุชวงศ์. (2558). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดและพฤติกรรมการเลือกเสื้อผ้าแฟชั่นของนิสิต
ระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยนเรศวร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยนเรศวร.
สุชา จันทร์เอม. (2542). จิตวิทยาพัฒนาการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพาณิช จ?ำกัด.
สุชาณัฐ วินิชปริญญา. (2556). ส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรมใน
กรุงเทพมหานครของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติแบบสะพายเป้. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต,
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุพิชญนันท์ พรหมณี. (2554). การส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยวของคลัสเตอร์ ผ้าไหมแพรวา จังหวัด
กาฬสินธุ์. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ส?ำนักงานการทะเบียน กรมการปกครอง. (2558). สถิติประชากรและบ้าน – จ?ำนวนประชากรแยกรายอายุ.
สืบค้นเมื่อ 30 เมษายน 2560, จาก ส?ำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง เว็บไซต์: http://
stat.dopa.go.th/stat /statnew / upstat_age.php
ส?ำนักงานส่งเสริมการค้าภายในต่างประเทศ ณ นครลอสแอนเจลิส. (2559). พฤติกรรมการบริโภค
และช่องทางการตลาดส?ำหรับ Generation ต่างๆ. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2560, จากส?ำนักงาน
ส่งเสริมการค้าภายในต่างประเทศ ณ นครลอสแอนเจลิส เว็บไซต์: .
โสพิส เกษมสหสิน. (2560). กลยุทธ์ด้านการตลาด จับทางผู้บริโภค Gen Z. สืบค้นเมื่อ 25 พฤษภาคม
2560, จาก กรุงเทพธุรกิจ เว็บไซต์: http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/640449
อาภาพร เผ่าวัฒนา. (2552). การป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น:การมีส่วนร่วมของครอบครัว
โรงเรียนและชุมชน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์โนเบิล.
อ?ำพล นววงศ์เสถียร. (2557). พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริโภคในร้านค้าออนไลน์ในกรุงเทพมหานคร.
วารสารปัญญาภิวัฒน์. 5(2), 134-149.
Compton, L. (1979). Motivations for pleasure vacation. Annals of Tourism Research, 6, 408-424.
Cronbach, L. J. (1990). Essential of psychological testing. New York: Harper & Row.
Hudman, Lloyd. (1980). Tourism: A Shrinking World. Ohio: AHMA.
Klenosky, D. (2002). The pull of tourism destinations: a means-end investigation. Journal of Travel
Research, 40, 385-395.
Yamane, Taro. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. 3rd ed. New York: Harper and Row
Publishers.

##submission.downloads##

已出版

2019-06-27

栏目

Research Articles