แบบจำลองปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของชุมชนท่องเที่ยวในประเทศไทย
关键词:
ความสำเร็จของชุมชนท่องเที่ยว , แบบจำลองปัจจัยความสำเร็จ , ชุมชนท่องเที่ยว摘要
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของชุมชนท่องเที่ยวในประเทศไทย เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามเก็บข้อมูลจากผู้บริหารชุมชนท่องเที่ยวหรือคณะกรรมการชุมชนท่องเที่ยวในความรับผิดชอบของกรมการพัฒนาชุมชน ประเภทชุมชนดาวเด่น (A) และประเภทชุมชนดาวรุ่ง (B) จำนวน 665 ชุมชนท่องเที่ยว ทำการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง สัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 12 ราย ผลการวิจัยพบว่า โมเดลความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง การจัดการเชิงกลยุทธ์ กลยุทธ์ทางการตลาด การมีส่วนร่วมของชุมชน ศักยภาพของชุมชนท่องเที่ยว และการสนับสนุนจากภาครัฐ มีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกกับความสำเร็จของชุมชนท่องเที่ยวในประเทศไทย กล่าวโดยสรุป คือโมเดลตามสมมติฐานสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ที่ค่าสถิติทดสอบเท่ากับ =1.037, CFI=1.00, GFI=0.98, AGFI=0.96, RMSEA=0.008 และ SRMR=0.011 และจากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลสำคัญยังได้เสนอปัจจัยด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเป็นปัจจัยอื่นเพิ่มเติมที่ส่งผลต่อความสำเร็จของชุมชนท่องเที่ยวในประเทศไทย
参考
กรมการท่องเที่ยว. (2560). แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวของประเทศ พ.ศ.2560-2564. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: พีดับบลิว ปริ้นติ้ง.
กรมการพัฒนาชุมชน. (2562). การจัดประเภทชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี. สืบค้นเมื่อ 22 เมษายน 2563, จากกรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย เว็บไซต์: http://cep.cdd.go.th/otop-นวัตวิถี/การจัดประเภทชุมชนท่องเที่ยว
กรมส่งเสริมวัฒนธรรม. (2563). ท่องเที่ยวชุมชน บนเส้นทางเรียนรู้. สืบค้นเมื่อ 2 เมษายน 2563, จากกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม เว็บไซต์: http://www.culture.go.th/culture_th/ewt_news.php?nid=4812&filename=index
เกรียงชัย รุ่งฟ้าใหม่ และสรัญญา ศรีทองมาศ. (2562). ความสำเร็จอย่างยั่งยืนของโฮมสเตย์จากมุมมองผู้นำชุมชนโฮมสเตย์ 4 ภูมิภาคของไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 39(3), 106-120.
เกวลิน หนูสุทธิ์. (2562). การจัดการผลกระทบจากการท่องเที่ยวโดยชุมชนในหมู่บ้านแม่กลางหลวง ตำบลบ้านหลวง อำเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2555). การวิจัยและการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนสามัญบิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.
นรินทร์ สังข์รักษา. (2559). รูปแบบและพฤติกรรมการท่องเที่ยวที่ไร้ความเร่งรีบของนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุในภูมิภาคตะวันตกของประเทศไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 36(2), 1-19.
ปณตนนท์ เถียรประภากุล. (2561). ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคการศึกษา 4.0. วารสารวิชาการ Veridian E – Journal ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์และศิลปะ, 11(2), 1998 – 2013.
ปิยเดช อัครโพธิ์วงศ์. (2562). การศึกษากระบวนการความร่วมมือของชุมชนในการจัดการชุมชนท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ตามแนวแกนมรดกโลกโดยใช้แนวคิดการวิเคราะห์เครือข่ายทางสังคม กรณีศึกษา: นครชุม จังหวัดกำแพงเพชร บ้านคุกพัฒนา และทุ่งหลวง จังหวัดสุโขทัย. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 18 (3), 101-113.
พจนา สวนศรี. (2560). รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว ฉบับที่ 7 2560. สืบค้นเมื่อ 10 มีนาคม 2563, จาก กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เว็บไซต์: https://secretary.mots.go.th/policy/news_view.php?nid=114
พรศิลป์ บัวงาม และอุทุมพร ศรีโยม. (2564). แนวทางการพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวตามเกณฑ์มาตรฐานการท่องเที่ยวโดยชุมชน อำเภอนบพิตำ จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารรัชต์ภาคย์, 15(41), 230-241.
ภิญญาพัชญ์ นาคภิบาล และละเอียด ขจรภัย. (2564). การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวชุมชน อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี. วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก, 39(1), 86-102.
วัลนิกา ฉลากบาง. (2560). การวิจัยแบบผสมผสาน. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, 7(2), 124-132.
ศิริกานดา ชูชื่น. (2554). แนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเพื่อเพิ่มศักยภาพการท่องเที่ยวเทศบาลเมืองหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและการท่องเที่ยว, มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ศิรินันทน์ พงษ์นิรันดร, โอชัญญา บัวธรรม, และชัชชญา ยอดสุวรรณ. (2559). แนวทางในการพัฒนาศักยภาพการจัดการ ท่องเที่ยวอำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 9(1), 234-259.
ศิริรักษ์ บุญพร้อมรักษา. (2556). รูปแบบการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน: กรณีศึกษา การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมตลาดร้อยปีบ้านใหม่ จังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสารธุรกิจปริทัศน์, 5 (1), 79-96.
ศูนย์วิจัยธนาคารออมสิน. (2562). ท่องเที่ยวโดยชุมชนวิถีชีวิตสู่ความยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2563, จากศูนย์วิจัยธนาคารออมสิน เว็บไซต์: https://www.gsbresearch.or.th
สุดใจ ดิลกฑรรศนนท์. (2558). การจัดการเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด สามลดา.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2564). แผนแม่บทเฉพาะกิจภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติอันเป็นผลมาจากสถานการณ์โควิด-19 พ.ศ.2564-2565. สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2564, จาก สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เว็บไซต์: http://nscr.nesdc.go.th/nesdc_uat/cpcovid
อนุพงศ์ มุทราอิศ. (2562). การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนตำบลป่าตอง อำเภอกระทู้ จังหวัดภูเก็ต. วารสารรัชต์ภาคย์, 13(30), 106-121.
อานิสงค์ โอทาตะวงศ์. (2557). การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการท่องเที่ยวอนุรักษ์ทะเลบัวแดงในเขตเทศบาลตำบลเชียวแหว อำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 25(1), 47-53.
Boit, J. C. (2013). The role of destination attributes and visitor satisfaction on tourist repeat visit intentions to Lake Nakuru National Park, Kenya. Masters of Science in Recreation, Park and Tourism Administration, Western Illinois University.
Creswell, J. W. (2015). A concise introduction to mixed methods research. Thousand Oaks, C.A. : Sage Publications.
FitzRoy, P., Hulbert, J. M., & Ghobadian, A. (2012). Strategic Management. (2 nd ed.). Abingdon, United Kingdom : Routledge.
Hoy, W. K., and Miskel, C. G. (2012). Educational Administration: Theory, Research, and Practice. (6th ed.). New York: McGraw–Hill.
Kotler, P., Armstrong, G., Hoon Ang, S., Tiong Tan, C., Hon-Ming Yau, O., & Meng Leong, S. (2017). Principles of Marketing: An Asian Perspective. Fourth Edition. Pearson Education Limited.
Lekoko, M., & Rankhumise, E. M. (2016). The influence of entrepreneurial leadership on business success. Retrieved January 3, 2020, from https://www.up.ac.za/media/ shared/643/ZP_Files/2016/Abstracts/hrl28.zp98130.pdf.
Marshall, G. W., and Johnston, M. W. (2016). Marketing Management. New York : McGraw-Hill, Inc.
##submission.downloads##
已出版
##submission.howToCite##
期
栏目
##submission.license##
##submission.copyrightStatement##
##submission.license.cc.by-nc-nd4.footer##บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารธุรกิจปริทัศน์
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ และคณาจารย์ท่านอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว