Psychological Well-Being of the Thai Elderly

Main Article Content

กิ่งแก้ว ทรัพย์พระวงศ์

Abstract

ABSTRACT The purposes of this research were to investigate the level of psychological wellbeing of the Thai elderly and to compare psychological well-being with social factors: gender, marital status, level of education, income and hometown. The sample was 403 of the Thai elderly. The research instruments used were social factors questionnaires and psychological well-being scale. The data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, t-test, analysis of variance (ANOVA) and Scheffé’s multiple comparisons test. The research findings were as follows: the psychological well-being of the Thai elderly were at moderate level; the male elderly had higher psychological well-being than female elderly (p < 0.05); the couple elderly had higher psychological well-being than the widow elderly (p < 0.05); the high and the moderate educated elderly had higher psychological well-being than the uneducated elderly (p < 0.05); the high income elderly had higher psychological well-being than the low income elderly (p < 0.05). There were also differences in self-acceptance of psychological well-being for the elderly of different hometowns (p < 0.05).

 

สุขภาวะทางจิตของผู้สูงอายุไทย

การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ ที่จะศึกษาระดับสุขภาวะทางจิตของผู้สูงอายุไทยและ เปรียบเทียบสุขภาวะทางจิตกับปัจจัยทางสังคมด้านเพศ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายได้ และถิ่นที่อยู่ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้สูงอายุชายและหญิงจำนวน 403 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม ปัจจัยทางสังคม แบบวัดสุขภาวะทางจิต สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวน และการวิเคราะห์ความ แตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีเชฟเฟ ผลการวิจัยพบว่า ผู้สูงอายุไทยมีสุขภาวะทางจิตใน ระดับปานกลาง เพศชายมีสุขภาวะทางจิตสูงกว่าเพศหญิง (p < 0.05) ผู้สูงอายุที่สมรส มีสุขภาวะ ทางจิตสูงกว่ากลุ่มที่เป็นหม้าย (p < 0.05) ผู้สูงอายุที่มีระดับการศึกษาสูงและ ปานกลางมีสุขภาวะ ทางจิตสูงกว่ากลุ่มไม่ได้รับการศึกษา (p < 0.05) ผู้สูงอายุที่มีรายได้สูงมีสุขภาวะทางจิตสูงกว่า กลุ่มรายได้น้อย และผู้สูงอายุที่มีถิ่นที่อยู่แตกต่างกันมีสุขภาวะทางจิตด้านการยอมรับตนเอง แตกต่างกัน (p < 0.05)

Article Details

Section
Research Articles