ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความสุขในการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

Main Article Content

ธัญณชน ใจบุญตัน
สุชาติ ลี้ตระกูล
กิตติศักดิ์ นิวรัตน์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสุขในการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เพ่ือตรวจสอบความสอดคล้องของรูปแบบปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความ สุขในการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และเพ่ือวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลรวม อิทธิพลทางตรง และทางอ้อม ต่อความสุขในการเรียนของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย โดยใช้การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis) กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัยเป็นของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ปีการศึกษา 2557 จำนวน 450 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ตัวแปรจำนวน 30 ตัวแปร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ผลการวิจัย พบว่า 1. ความสขุ ในการเรยี นของนกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี มหาวทิยาลยัราชภฏัเชยีงราย พบวา่ นกัศกึษา มีความสุขในการเรียนภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาในแต่ละด้าน พบว่า นักศึกษามีความสุขในการ เรียนอยู่ในระดับมากทุกด้าน ยกเว้นด้านความวิตกกังวล อยู่ในระดับปานกลาง โดยนักศึกษามีความสุขในการ เรียนด้านความพึงพอใจในตนเองมาก รองลงมาคือ ด้านความสนใจใฝ่เรียนรู้ และความพึงพอใจในการเรียน ตามลำดับ 2. ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของรูปแบบปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความสุขในการเรียน ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ด้วยโมเดลลิสเรล พบว่า โมเดลมีความสอดคล้อง กับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจากค่าไค-สแควร์ (χ2 = 21.34, df = 39) ซึ่งมีค่าความน่าจะเป็นเท่ากับ 0.36 ค่าไค-สแควร์แตกต่างจากศูนย์อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ แสดงว่า ไม่ปฏิเสธสมมติฐานหลักที่ว่าโมเดล ตามทฤษฎีสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์และค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (Goodness of Fit Index : GFI = 1.00) และมีค่าเข้าใกล้ 1 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืนปรับแก้ (Adjusted Goodness of Fit Index : AGFI = 0.97) และมีค่าเข้าใกล้ 1 รวมทั้งดัชนีรากฐานของค่าเฉลี่ยกำลังสองของส่วนที่เหลือ (Root Mean Squared Residual : RMR = 0.010) มีค่าเข้าใกล้ศูนย์ กราฟ Q-Plot ชันกว่าเส้นทแยงมุม ส่วนค่าสัมประสิทธิ์การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสุขในการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย เพ่ือตรวจสอบความสอดคล้องของรูปแบบปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความ สุขในการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และเพ่ือวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลรวม อิทธิพลทางตรง และทางอ้อม ต่อความสุขในการเรียนของนักศึกษา ระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย โดยใช้การวิเคราะห์เส้นทาง (Path Analysis) กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัยเป็นของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ปีการศึกษา 2557 จำนวน 450 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ตัวแปรจำนวน 30 ตัวแปร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ผลการวิจัย พบว่า 1. ความสขุ ในการเรยี นของนกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี มหาวทิยาลยัราชภฏัเชยีงราย พบวา่ นกัศกึษา มีความสุขในการเรียนภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาในแต่ละด้าน พบว่า นักศึกษามีความสุขในการ เรียนอยู่ในระดับมากทุกด้าน ยกเว้นด้านความวิตกกังวล อยู่ในระดับปานกลาง โดยนักศึกษามีความสุขในการ เรียนด้านความพึงพอใจในตนเองมาก รองลงมาคือ ด้านความสนใจใฝ่เรียนรู้ และความพึงพอใจในการเรียน ตามลำดับ 2. ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของรูปแบบปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความสุขในการเรียน ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ด้วยโมเดลลิสเรล พบว่า โมเดลมีความสอดคล้อง กับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจากค่าไค-สแควร์ (χ2 = 21.34, df = 39) ซึ่งมีค่าความน่าจะเป็นเท่ากับ 0.36 ค่าไค-สแควร์แตกต่างจากศูนย์อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ แสดงว่า ไม่ปฏิเสธสมมติฐานหลักที่ว่าโมเดล ตามทฤษฎีสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์และค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (Goodness of Fit Index : GFI = 1.00) และมีค่าเข้าใกล้ 1 ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืนปรับแก้ (Adjusted Goodness of Fit Index : AGFI = 0.97) และมีค่าเข้าใกล้ 1 รวมทั้งดัชนีรากฐานของค่าเฉลี่ยกำลังสองของส่วนที่เหลือ (Root Mean Squared Residual : RMR = 0.010) มีค่าเข้าใกล้ศูนย์ กราฟ Q-Plot ชันกว่าเส้นทแยงมุม ส่วนค่าสัมประสิทธิ์การพยากรณ์หรือ R SQUARE (R2) ตัวแปรความสุขในการเรียน (HAPP) มีค่าเท่ากับ 0.86 แสดงว่า ตัวแปร ในโมเดลอธิบายความแปรปรวนในตัวแปรความสุขในการเรียน (HAPP) ได้ร้อยละ 86 3. ผลการวิเคราะห์อิทธิพลรวม อิทธิพลทางตรง และอิทธิพลทางอ้อม ของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ ความสุขในการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ดังนี้ 3.1 ตัวแปรที่มีอิทธิพลรวมสูงสุดต่อความสุขในการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 คือ ตัวแปรการเรียนการสอนที่เน้นผู้ เรียนเป็นสำคัญ ด้วยขนาดอิทธิพล 0.64 และตัวแปรที่มีอิทธิพลรวมอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ตัวแปร ลักษณะของนักศึกษา ด้วยขนาดอิทธิพล -0.63 ตัวแปรความภาคภูมิใจในตนเอง ด้วยขนาดอิทธิพล 0.47 ตัวแปรสภาพแวดล้อมของมหาวิทยาลัย ด้วยขนาดอิทธิพล -0.42 ตัวแปรลักษณะของอาจารย์ ด้วยขนาด อิทธิพล -0.28 และตัวแปรสภาพครอบครัว ด้วยขนาดอิทธิพล 0.12 ตามลำดับ 3.2 ตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรงสูงสุดต่อความสุขในการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คือ ตัวแปรการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ด้วยขนาดอิทธิพล 3.23 รองลงมาคือ ตัวแปรลักษณะของอาจารย์ ด้วยขนาดอิทธิพล -1.74 ตัวแปรลักษณะของนักศึกษา ด้วยขนาด อิทธิพล -0.63 ตัวแปรความภาคภูมิใจในตนเอง ด้วยขนาดอิทธิพล 0.47 ตัวแปรสภาพแวดล้อมของ มหาวิทยาลัย ด้วยขนาดอิทธิพล -0.42 และตัวแปรสภาพครอบครัว ด้วยขนาดอิทธิพล 0.11 ตามลำดับ 3.3 ตัวแปรที่มีอิทธิพลทางอ้อมสูงสุดต่อความสุขในการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คือ ตัวแปรลักษณะของอาจารย์ ด้วยขนาดอิทธิพล 0.53 รองลงมาคือ ตัวแปร การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ด้วยขนาดอิทธิพล 0.41 และตัวแปรสภาพครอบครัว ด้วยขนาด อิทธิพล 0.01 ตามลำดับ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จารี ทองตำลึง. (2551). ความคิดเห็นของผู้บริหารและอาจารย์ที่จะเกษียณอายุราชการเกี่ยวกับการจัด
โครงการศึกษา ในมหาวิทยาลัยสำหรับผู้สูงอายุในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เฉลียว บุรีภัคดี. (2559). ลักษณะของครูที่ดี. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2559, จาก
https://www.gotoknow.org/posts/317579.
ธำรง อุดมไพจิตรกุล. (2544). สังคมศาสตร์การศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โครงการตำราคณะสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
นุสรา งามเดช, และคณะ. (2552). ความสุขของนักศึกษาพยาบาล. สระบุรี: วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี.
บุญส่ง นิลแก้ว. (2532). การวัดผลทางจิตวิทยา. เชียงใหม่: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ปรัชญา เวสารัชช์. (2554). หลักการจัดการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ์.
ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์. (2547). นิเวศวิทยาการเมืองและมโนทัศน์แห่งความยั่งยืนยาวนาน. กรุงเทพมหานคร:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปัทมา ทองสม. (2554). การพัฒนาดัชนีชี้วัดความสุขในการเรียนของนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต
สังกัดกระทรวงสาธารณสุข. วารสารการพยาบาลและการศึกษา, 4(1), 88 - 110.
ผ่องลักษณ์ จิตต์การุญ. (2549). สภาพปัจจัยในการสอนที่ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างมีความสุข สำหรับนักศึกษา
โปรแกรมวิชานิเทศศาสตร์สถาบันราชภัฏกลุ่มภาคเหนือตอนล่าง. พิษณุโลก: สถาบันราชภัฏ
พิบูลสงคราม.
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. (2558). คำสั่งที่ 4848/2558 เรื่องแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษา. 11 กันยายน 2558.มารุต พัฒผล. (2546). การจัดการเรียนรู้ที่เสริมสร้างการรู้คิดและความสุขในการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร:
จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์.
สิทธิชัย จันทานนท์. (2554). การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. สืบค้นเมื่อ
วันที่ 20 สิงหาคม 2559, จาก https://cms.srivikorn.ac.th/svk_forum/index.php?topic=3912.0.
เสาวลักษม์ กิตติประภัสร. (2555). ก้าวย่างใหม่ในการพัฒนาสู่สังคมแห่งความสุข. กรุงเทพมหานคร:
สำนักงานพัฒนานโยบายสาธารณะ.
Boomsma, A. (1983). On the robustness of LISREL (Maximum Likelihood Estimation) against
small sample size and non-normality. Sociometric Research Foundation: Amsterdam.