การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : กลยุทธ์การจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ของครูในศตวรรษที่ 21
Main Article Content
บทคัดย่อ
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีเป้าหมายให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะใน 4 หมวดหมู่ คือ 1) วิถีทางของการคิด 2) วิถีทางของการทำงาน 3) เครื่องมือสำหรับการทำงาน และ 4) ทักษะสำหรับดำรงชีวิตในโลกปัจจุบัน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมในยุคสมัยแห่งความเปลี่ยนแปลงได้อย่างมีคุณภาพ การจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพสูงที่จะนำพาผู้เรียนให้มีทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 แนวทางหนึ่งคือ การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ซึ่งเป็นกลยุทธ์การสอนที่เชื่อมโยงเนื้อหาสาระในบทเรียนให้สัมพันธ์กับชุมชน ผ่านการบูรณาการสาระความรู้ในหลายศาสตร์กับประเด็นปัญหาในโลกที่เป็นจริง และเป็นเรื่องใกล้ตัว ในชุมชนและสิ่งแวดล้อมของผู้เรียน เน้นทักษะการคิด การแก้ปัญหา เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรงจากการลงมือปฏิบัติจริง มีการประเมินผลตามสภาพจริงโดยการมีส่วนร่วมจากผู้ที่เกี่ยวข้อง ในบทความนี้นำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการจัดเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ประกอบด้วยฐานรากทฤษฎี กลยุทธ์การจัดการเรียนรู้ และการวัดผลประเมินผล
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
References
ดิษยุทธ์ บัวจูม, อังศินันท์ อินทรกำแหง, พรรณี บุญประกอบ และ คนอื่น ๆ. (2014). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน เพื่อสร้างความสนใจและทักษะในอาชีพท้องถิ่นของนักเรียนโรงเรียนบ้านพะแนงวิทยา. Journal of Behavioral Science, 2(20), 18-36.
ประยูร บุญใช้ และ ภูมิพงศ์ จอมหงส์พิพัฒน์. (2558). การวิจัยและพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการโดยใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นเป็นฐาน สำหรับสถานศึกษาในชุมชนรอบหนองหาร จังหวัด สกลนคร. วารสารบัณฑิตศึกษา, 12(58), 185-193.
ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2557). ยุทธวิธีสู่ความสำเร็จในการจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา. สืบค้นเมื่อ 17 ตุลาคม 2561, จาก http://www.old.nrru.ac.th/grad/data.php?page=km
มณฑล จันทร์แจ่มใส. (2558). โครงการถอดชุดประสบการณ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน :กรณีศึกษา การบูรณาการการจัดการเรียนรู้วิชาออกแบบสถาปัตยกรรมกับการพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้มีรายได้น้อย. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร. 10(1), 143-156.
วิจารณ์ พานิช. (2557). นวัตกรรมสู่การเป็นประเทศแห่งการศึกษา. สืบค้นเมื่อ 17 กรกฎาคม 2561, จาก https://www.gotoknow.org/posts/565909
วิชัย วงษ์ใหญ่. (2561). สี่เสาหลักของการศึกษา. สืบค้นเมื่อ 17 กรกฎาคม 2561, จาก www.curriculumandlearning.com/upload/สี่เสาหลักทางการศึกษา_1415863493.pdf
ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์. (2557). กระบวนทัศน์การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา. (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยศิลปากร. นครปฐม.
สุมาลี ชัยเจริญ. (2557). การออกแบบการสอน หลักการ ทฤษฎี สู่การปฏิบัติ. ขอนแก่น: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2557). รายงานการวิจัย แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียมความพร้อมสู่ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560ก). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560–2579. กรุงเทพฯ: สำนักงานฯ.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560ข). สภาวะการศึกษาไทย ปี 2558/2559 ความจำเป็นของการแข่งขันและการกระจายอำนาจในระบบการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานฯ.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2561). สภาวะการศึกษาไทยปี 2559/2560 แนวทางการปฏิรูปการศึกษาไทยเพื่อก้าวสู่ยุค Thailand 4.0. กรุงเทพฯ: สำนักงานฯ.
Ash, S. L. and Clayton, P. H. (2004). The articulated learning : an approach to guided reflection and assessment innovative. Higher Education, 29(2), 137-154.
Bednar, S. and Simpson, N. B. (2013, December). Incorporating community-based learning in a course on the economics of poverty. Retrieved on June 14, 2018, from https://www.aeaweb.org/conference/2014/retrieve.php?pdfid=214
Bedri, Z, de Frein, R. and Dowling, G. (2017, December 18). Community-based learning :
A primer. Irish Journal of Academic Practice: 6(1), Retrieved on June 14, 2018, from https://arrow.dit.ie/ijap/vol6/iss1/5
Flecky, K. (2011). Foundations of Service learning. Jones and Bartlett. Retrieved on June 14, 2018, from http://samples.jbpub.com/9780763759582/59582_CH01_FINAL.pdf
Melaville, A, Berg, A. C. and Blank M. J. (2015, May 20). Community-based learning : Engaging students for success and citizenship. Partnerships/Community. Paper 40. Retrieved on June 15, 2018, from http://digitalcommons.unomaha.edu/slcepartnerships/40
Saavedra, A. R. and Opfer, V. D. (2012, April). Teaching and Learning 21st Century Skills : Lessons from the learning Sciences. Asia Society, Retrieved on June 15, 2018, from https://asiasociety.org/education/teaching-and-learning-21st-century-skills
Schleicher, A. (2012). Preparing teachers and developing school leaders for the 21st century : lessons from around the world, OECD Publishing. Retrieved on June 15, 2018, from https://www.oecd.org/site/eduistp2012/49850576.pdf
Steinke, P. and Fitch, P. (2007). Assessing Service-Learning. Research & Practice in Assessment. Retrieved on June 15, 2018, from https://files.eric.ed.gov/fulltext/EJ1062690.pdf
The assessment and teaching of 21st century skills project. (2012). 21st Century Skills. Retrieved on June 14, 2018, from http://www.atc21s.org