แนวทางการจัดการธุรกิจการท่องเที่ยวภายใต้สภาวะวิกฤต

Main Article Content

เสงี่ยม บุญพัฒน์
มนสิชา ซาวคำ

บทคัดย่อ

ในสภาวะความผันผวนของเศรษฐกิจโลก โรคระบาด และความไม่แน่นอนต่าง ๆ เป็นความเสี่ยงที่ส่งผลต่อการดำเนินธุรกิจ ดังนั้น องค์กรจึงต้องมีการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อช่วยให้สามารถดำเนินธุรกิจต่อได้ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการที่มีบทบาทสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ แต่ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาธุรกิจบริการได้รับผลกระทบจากภาวะวิกฤตที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เกิดความเสี่ยงมากมายต่อธุรกิจและคนทำงาน ดังนั้น องค์ความรู้ด้านการจัดการภาวะวิกฤตสำหรับธุรกิจการท่องเที่ยวจึงมีความสำคัญต่อการดำเนินงานและการอยู่รอดของธุรกิจ บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทาง       การจัดการธุรกิจท่องเที่ยวภายใต้สภาวะวิกฤต โดยการนำเสนอแนวคิดและแนวทางในการจัดการความเสี่ยงและภาวะวิกฤตธุรกิจท่องเที่ยว พร้อมทั้งข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ต่อธุรกิจท่องเที่ยวในการนำไปวางแผนเพื่อการจัดการภาวะวิกฤตของธุรกิจให้สามารถผ่านพ้นและดำเนินธุรกิจต่อไปได้

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ฐาปนา บุณยประวิตร. (2564). ระเบียงเศรษฐกิจ “อันดามัน” หลังโควิด. สืบค้นจาก https://www.thansettakij.com/property/467423

ไทเกอร์. (2020). Thaiwinner: What is crisis management?. สืบค้นจาก https://thaiwinner.com/crisis-management

บิซิเนส ทูเดย์. (2563). การท่องเที่ยวของไทยคงต้องอาศัยการสนับสนุนจากภาครัฐฯ ต่อเนื่อง.สืบค้นจาก https://www.businesstoday.co/opinions/08/10/2020/51760/

ปัญจพัฒน์ ประสมิทธิ์เดชสกุล. (2563). วิจัยกรุงศรี: พลิกโฉมธุรกิจหลังวิกฤโควิด-19. สืบค้นจาก https://www.krungsri.com/en/research/research-intelligence/ri-future-of-tourism-21

ประพันธ์ ช่วงภูศรี และ สำเริง บูรณะสิงห์. (2554). การบริหารความขัดแย้งและบริหารภาวะวิกฤต. กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย.

ศิริพงศ์ รักใหม่ และ คนอื่น ๆ, (2560). การจัดการภาวะวิกฤตในธุรกิจโรงแรม. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, (11)1, 345-353.

ศุภลักษณ์ ศรีวิไลย และ รุ่งเรือง ทองศรี. (2564). การแพร่ระบาดของ โควิด-19 ส่งผลต่อการท่องเที่ยวของประเทศไทย. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, (7)8, 411-412.

อรุณ ศิริจานุสรณ์. (2564). EEC: กับแนวโน้มธุรกิจอุตสาหกรรม ปี 2562 – 2564 กลุ่มธุรกิจโรงแรม. สืบค้นจาก https://www.bangkokbiznews.com/business/972631

Brinca, P., B. Duarte and Miguel Faria-e-Castr. (2020). Is the COVID-19 pandemic a supply or a demand shock?, economic synopses, Federal Reserve Bank of St. Louis. Retrieved from https://research.stlouisfed.org/publications/economic-synopses/2020/05/20/is-the-covid-19-pandemic-a-supply-or-a-demand-shock

Coombs, W. T. (2007). Crisis management and communications. Retrieved from http://www.instituteforpr.org/crisis-management-and-communications

Glaesser, D. (2006). Crisis management in the tourism industry. Oxford: Butterworth-Heinemann.

Gopinath, G. (2020), The great lockdown: Worst economic downturn since the great

depression. Retrieved from IMF Blog: https://blogs.imf.org/2020/04/14/the-great-lockdown-worst-economic-downturn-since-the-great-depression

Kennedy, S. (2020). Harvard’s Reinhart and Rogoff say this time really is different.

Retrieved from Bloomberg: https://www.garp.org/risk-intelligence/all/a ll/a1Z1W000005VMdOUAW

Lunkam, P. (2021). Krungsri research: Tourism & hotel industry in the post-COVID world. Retrieved from https://www.krungsri.com/en/research/research-intelligence/ri-future-of-tourism-21

Niininen, O. (2013). Five star crisis management: Examples of best practice from the hotel industry. Retrieved from http://dx.doi.org/10.5772/55209

Myers, J ,. (1991). Wellness as the paradigm for counseling and development: The possible future. Counselor Education and Supervision, (30)3, 183-193.