การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาจีนเพื่อความเข้าใจและทักษะการทำงานร่วมกัน โดยใช้การเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี

Main Article Content

Siting Lu
สุดคนึง นฤพนธ์จิรกุล

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบทักษะการอ่านภาษาจีนเพื่อความเข้าใจของนักศึกษาระดับปริญญาตรีก่อนเรียนและหลังเรียนโดยใช้การเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน 2) ศึกษาพัฒนาการทักษะการอ่านภาษาจีนเพื่อความเข้าใจของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีความสามารถแตกต่างกัน 3) ศึกษาทักษะการทำงานร่วมกันของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่เรียนโดยใช้การเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มตัวอย่าง
ที่ใช้ในวิจัย ได้แก่ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 หลักสูตรภาษาจีนธุรกิจ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ที่เรียนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 35 คน ได้มาโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้การอ่านภาษาจีนเพื่อความเข้าใจโดยใช้การเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน 2) แบบทดสอบทักษะการอ่านภาษาจีนเพื่อความเข้าใจ และ 3) แบบประเมินทักษะ
การทำงานร่วมกัน


            ผลการวิจัยพบว่า 1) ทักษะการอ่านภาษาจีนเพื่อความเข้าใจของนักศึกษาระดับปริญญาตรีหลังเรียนโดยใช้การเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2) พัฒนาการทักษะการอ่านภาษาจีนเพื่อความเข้าใจของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่มีความสามารถต่างกันสูงขึ้นทุกกลุ่ม 3) ทักษะการทำงานร่วมกันของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่เรียนโดยใช้การเรียนรู้แบบ
เพื่อนช่วยเพื่อนอยู่ในระดับดีมาก

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กันยา มั่นคง. (2563). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอนด้วยเทคนิคการเรียนการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อนในรายวิชาการบัญชีเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมของนักศึกษาโปรแกรมวิชาการบัญชี. วารสารพิกุล, 18(2), 221-233.

บุษยากร ซ้ายขวา, ผาสุก บุญธรรม, และ เพ็ญพิศุทธิ์ ใจสนิท. (2560). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของนักเรียนชนเผ่า ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 10(3), 77-86.

Hasnani, H., & Ismail, A. (2020). Enhancing students’ reading ability through peer-assisted learning strategies (PALS). Lentera Pendidikan, 23(2), 260-270.

Johnson, D. W. & Johnson, R. T. (1994). Leading the cooperative school (2nd ed.). Minnesota: Interaction Book.

Li, Q. (2009). Research on the peer coaching model in improving college students’ cooperative learning ability. (Master of Educational Technology). Shandong Normal University. China.

Ma, J. Y. (2017). The status survey report of the HSK Examination in Thailand. (Master of Teaching Chinese to Speakers of Other Languages). Yunnan University. China.

Pu, X. X. (2020). Analysis of teaching design of intermedia Chinese reading course for Thai Foreign students based on schema theory. (Master of Teaching Chinese to Speakers of Other Languages). Yunnan Normal University. China.

Shi, J. G. (2012). The application of peer-assisted learning in comprehensive English teaching. Journal of Mudanjiang College of Education, 29(5), 121-122.

Sulistami, P., Pahamzah, J., Baratayaomi,W., & Syafriza, S. (2018). Improving students’ reading comprehension by using peer-assisted learning strategies (PALS) in EFL Contexts. International Journal of Language and Literature, 2(2), 52-59.

Topping K., & Ehly S. (1998). Peer-assisted learning. New York: Lawrence Erlbaum Associates.

Wang, C. S., & Huang, L. (2011). The role of peer-assisted learning mode in college English teaching. Industrial & Science Tribune, 10(14), 195-196.

Wang H. M. (2012). On the mechanism of stimulating international students' interest in Chinese reading. Youth Literator, 56(21), 67.

Williams, L. M., Hedrick, W. B., & Tuschlnski, L. (2008). Motivation: Going beyond testing to a lifetime of reading. Childhood Education, 84(3), 135-141.

Xiang, Y. J. (2012). Research on the current situation and strategies of reading teaching practice in Chinese as a foreign language. (Master of Linguistics and Applied Linguistics Profession). Xi’an International Students University. China.

Zhao, L. Y. (2018). To learn to read, you must first understand the meaning of "reading". Read and Write Periodical, 15(6), 62-63.