การเสริมสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ : ความท้าทายในปัจจุบัน-อนาคต

Main Article Content

วราดวง สมณาศักดิ์
นวลนภา จุลสุทธิ
ภูริพัฒน์ แก้วศรี

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอวิธีการเสริมสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่เพื่อทดแทนเกษตรกรที่สูงอายุในประเทศไทย ซึ่งในบทความผู้เขียนได้นำเสนอเกี่ยวกับนโยบายภาครัฐในการเสริมสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ ปัญหาและอุปสรรคของเกษตรกรรุ่นใหม่ และสุดท้ายผู้เขียนได้นำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับวิธีการเสริมสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ ซึ่งประกอบด้วย 1) การกำหนดนโยบายทางการเกษตรที่ให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม 2) การสร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการเกษตร 3) การสนับสนุนสินเชื่อเพื่อการลงทุน 4) การส่งเสริมการตลาด และ 5) การกระตุ้นให้เห็นความสำคัญของการประกอบอาชีพเกษตรกรรม

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมส่งเสริมการเกษตร. (2561). โครงการพัฒนาผู้ประกอบการเกษตรรุ่นใหม่. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงฯ.

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (2566). แผนพัฒนาการเกษตรในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ.2566-2570). สืบค้นจาก http://tarr.arda.or.th/static2/docs/ development_plan2566

กรมชลประทาน. (2560). แผนยุทธศาสตร์กรมชลประทาน 20 ปี (พ.ศ.2560-2579). กรุงเทพมหานคร: กระทรวงฯ.

กีรติยา สวัสดิภาพ. (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อความคาดหวังในการพัฒนาการเกษตรเพื่อพึ่งพาตนเองของเกษตรกรรุ่นใหม่. (วิทยานิพนธ์พัฒนาสังคมมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพมหานคร.

โคเชเทล และ เกษศิรินทร์ พิบูลย์. (2560). ความหลากหลายของเกษตรกรรุ่นใหม่ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่และปราจีนบุรี : คุณลักษณะ ปัญหาที่เผชิญและการมีส่วนร่วมกับโครงการสนับสนุนเกษตรกร. สืบค้นจาก http://www.ewsearchgate.net

นวัตกรรมทางการเกษตร. (2563). Innovation and Technology. สืบค้นจาก http://sites.google.com

ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580). (2561). สืบค้นจาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/ DATA/PDF/2561/A082/T_0001.PDF

โยษิตา เสร็จกิจ วุฒิยา สาหร่ายทอง และกนกวรรณ จันทร์เจริญชัย. (2565). การศึกษาความสามารถในการแข่งขันสินค้าเกษตรของประเทศไทยและประเทศอินโดนีเซีย กรณีศึกษา : ปาล์มน้ำมัน. วารสารสังคมศาสตร์ปัญญาพัฒน์, 4(4), 225-238.

ศันสนีย์ กระจ่างโฉมและคณะ. (2558). รายงานฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การเกษตรกับความมั่นคงทางอาหาร : ทัศนคติและแรงจูงใจในการสานต่ออาชีพเกษตรของทายาทเกษตรกรในอำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ศุภมิตร ศรีวัฒนชัย. (2559). การติดตามและประเมินผลการพัฒนาองค์ความรู้และการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ภายใต้โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ (หลักสูตรการพัฒนาเกษตรกรอย่างยั่งยืน)ประจำปีงบประมาณ 2559. สืบค้นจาก http://www.alro.go.th/ research_plan/download/article_20171006132407.pdf

สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม. (2560). หลักสูตรการพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่. สืบค้นจาก https://www.alro-newfarmers.com/curriculumnewfarmer.html

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แนวคิดและหลักการในการพัฒนาเกษตรกร. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานฯ.

สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. (2560). โครงการเกษตรเพื่อชีวิต เกษตรกรรุ่นใหม่ใส่ใจมาตรฐาน. สืบค้นจาก http:www3.oae.go.th/zone2/index.php/news/16-oae-news/246-4-1

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2560). เจาะทิศทางแรงงานเกษตร พัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน ก้าวสู่เกษตรกรรม 4.0. สืบค้นจาก http://www3.oae.go.th/zone2/index.php/news/16-oae-news/246-4-1

สุภัทร คำมุงคุณ. (2562). การสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานฯ.

สุนทรี ศักดิ์ประชาวุฒิ และ ทรงวุฒิ ม่วงเจริญ. (2560). การศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางการปรับปรุงการดำเนินงานจัดที่ดิน โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่. กรุงเทพมหานคร: สำนักวิชาการและแผนงานสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.