ผลกระทบของการปฏิบัติงานด้านการบัญชีสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อความสำเร็จ ในการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการปฏิบัติงานด้านการบัญชีสิ่งแวดล้อมในด้านกลยุทธ์ทางการบัญชีสิ่งแวดล้อม กิจกรรมด้านการบัญชีสิ่งแวดล้อม การรายงานผลทาง
การบัญชีสิ่งแวดล้อม และการวัดและประเมินผลทางการบัญชีสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากร คือ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย จำนวน 817 ราย แบบสอบถามตอบกลับจำนวน 166 ราย ผู้ตอบแบบสอบถาม คือ ผู้อำนวยการฝ่ายบัญชี และผู้จัดการฝ่ายบัญชี
ผลการวิจัยพบว่า การปฏิบัติงานด้านการบัญชีสิ่งแวดล้อมในด้านกลยุทธ์ทางการบัญชีสิ่งแวดล้อม กิจกรรมด้านการบัญชีสิ่งแวดล้อม และการวัดและประเมินผลทางการบัญชีสิ่งแวดล้อมส่งผลเชิงบวกต่อความสำเร็จในการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
แห่งประเทศไทย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะที่ด้านการรายงานผลทางการบัญชีสิ่งแวดล้อมล้อมไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ผลลัพธ์ที่ได้สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุง พัฒนา และต่อยอดการบัญชีสิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และสร้างความสำเร็จในการดำเนินงาน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว
References
กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. (2566). ระบบสื่อสิ่งแวดล้อม. สืบค้นจาก https://eservice.deqp.go.th/
กัลยสุดา แหวนทองคํา, ชัยยศ สัมฤทธิ์สกุล, รัชนียา บังเมฆ, และ อรุณี ยศบุตร. (2563). คุณภาพการเปิดเผยข้อมูลลความรับผิดชอบต่อสังคมและและสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อราคาหุ้นของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ MAI. วารสารบรหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ราชมงคลลานนา, 8(1), 13-23.
จริยา รอดจันทร์, ไพโรจน์ พรหมจีน, และ รุ่งอรุณ ดวงจันทร์. (2564). การบัญชีตามความรับผิดชอบต่อสังคมกับการบัญชีเพื่อสิ่งแวดล้อมของผู้ประกอบการในยุคปัจจุบัน. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 11(1), 155-170.
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2566). การเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. สืบค้นจาก https://member.set.or.th/th
ธกานต์ ชาติวงค์. (2560). ทฤษฎีที่ใช้อธิบายงานวิจัยทางบัญชี: จากอดีตถึงอนาคต. วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 6(2), 203-212.
นริศรา อยู่จรรยา และ สุชาดา เจียมสกุล. (2561). ดัชนีการเปิดเผยข้อมูลสิ่งแวดล้อมกับผลการดำเนินงานของบริษัท. วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร, 15(1), 83-102.
บุญชม ศรีสะอาด. (2556). การวิจัยเบื้องต้น (ฉบับปรับปรุงใหม่). (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
เบญจฐา วัฒนกุล, สุทธาพัฒน์ อมรเรืองตระกูล, ณัฐธยาน์ โชคกนกนภา, จรูญ ชำนาญไพร, สุภาสินีย์ ปริญญานิพนธ์, และ ชนิดาภา ดีสุขอนันต์. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างการบัญชีสิ่งแวดล้อมกับภาพลักษณ์ขององค์กรธุรกิจ. วารสารการอาชีวศึกษาภาคกลาง, 5(1), 59-66.
ปพฤกษ์บารมี อุตสาหะวาณิชกิจ. (2560). การบัญชีเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมภาพลักษณ์องค์กร การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียความอยู่รอดของกิจการและความยั่งยืนขององค์กร. วารสารวิทยาการจัดการ, 34(1), 27-56.
พัทรียา เห็นกลาง. (2566). การวิเคราะห์เส้นทางกลยุทธ์ด้านสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 17(2), 30-43.
ภาวินีย์ ธนาอนวัช. (2563). โรงแรมสีเขียว: กลยุทธ์การบริหารจัดการและการปฏิบัติบัญชีเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมของโรงแรมกรุงศรีริเวอร์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารการบัญชีและการจัดการมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 12(2), 117-134.
ศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2552). การบัญชีสิ่งแวดล้อม. วารสารวิชาชีพบัญชี, 5(12), 21-24.
ศูนย์พัฒนาธุรกิจเพื่อความยั่งยืน. (2566). Know sustainabilty, environment. สืบค้นจาก https://www.setsustainability.com/page/environment
สัตยา ตันจันทร์พงศ์ และ พัทธ์ยศ เดชศิริ. (2561). ผลกระทบเชิงสาเหตุระหว่างการวางแผนภาษีกับผลการดำเนินเงินของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 38(3), 1-13.
สุวิมล ติรกานันท์. (2548). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อัญชลีพร ใสสุทธิ์, ณัฐนันท์ ฐิติยาปราโมทย์, และ สุขเกษม ลางคุลเสน. (2563). นวัตกรรมทางการบัญชีสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อการอยู่รอดขององค์กร: กรณีศึกษาของธุรกิจที่ได้รับการรับรอง ISO 14001 ในประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี, 2(3), 29-41.
Barnard, C. I. (1938). The Functions of the Executive. Cambridge, MA: Harvard University Press.
Black, K. (2006). Business statistic for contemporary decision making. (4th ed.) New York: John Wiley & Son.
Koschate, N., & Gartner, S. (2015). Brand trust: Scale development and validation. Schmalenbach Business Review, 67(2), 171-195.
Nunnally, J. C., & Bernstein, I. H. (1994). Psychometric Theory. New York: McGraw-Hill.
Taro Yamane. (1967). Statistics: an introductory analysis. New York: Harper & Row.
University of Canterbury, New Zealand. (2012). NZ Management Accounting Conference. Palmerston North: University of Canterbury.