แนวทางการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพของผู้เรียน โรงเรียนบ้านป่าสักไก่
Main Article Content
บทคัดย่อ
1. สภาพการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพของผู้เรียน โรงเรียนบ้านป่าสักไก่ ในภาพรวมและทุกด้าน ด้านทักษะการทำงาน ด้านการแก้ปัญหา ด้านการทำงานร่วมกัน ด้านแสวงหาความ รู้ ด้านการจัดการระบบงานและระบบบุคลากร มีการบริหารจัดการอยู่ในระดับมาก โดยด้านทักษะการทำงาน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ด้านแสวงหาความรู้ ด้านการทำงานร่วมกัน ด้านการแก้ปัญหา และด้านการ จัดการระบบงานและบุคลากร ตามลำดับ
2. เหตุและปัจจัยในการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพของผู้เรียน โรงเรียนบ้าน ป่าสักไก่ ในภาพรวม เป็นเหตุและปัจจัยในการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาใน แต่ละด้าน พบว่า ด้านบุคลากร และด้านการจัดการ เป็นเหตุและปัจจัยในการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ มี ค่าเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาคือ ด้านวัสดุ อุปกรณ์ ด้านสภาพสังคม และด้านสภาพเศรษฐกิจ ตามลำดับ
3. แนวทางการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพของผู้เรียน โรงเรียนบ้านป่าสักไก่
3.1 การบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพของผู้เรียน โรงเรียนบ้านป่าสักไก่ ใน ปีการศึกษาต่อไป ปีการศึกษา 2558 ควรเน้นให้ความสำคัญกับการการบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนา ทักษะอาชีพของผู้เรียน ด้านการจัดการระบบงานและระบบบุคลากร เป็นอันดับแรก รองลงมา คือ ด้านการ แก้ปัญหา ด้านการทำงานร่วมกัน ด้านการแสวงหาความรู้ และด้านทักษะการทำงาน ตามลำดับ
3.2 การสนับสนุนเพื่อให้สามารถบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพของผู้ เรียนได้ดียิ่งขึ้น ควรให้ความสำคัญกับด้านบุคลากร และด้านการจัดการ เป็นอันดับแรก รองลงมา คือ ด้านวัสดุ อุปกรณ์อุปกรณ์ ด้านสภาพสังคม และด้านสภาพเศรษฐกิจ ตามลำดับ
Guidelines of Learning Resources Management to Develop the Professional Skills of the Students at Ban Parsakkai School
The purposes of this Independent study were to identify the causes and to determine factors and guidelines for the management of learning resources in order to develop professional skills of the students at Ban Parsakkai School. The population in this study consisted of executives, principal directors, teachers, and operational staff of the Learning Resources of a total of 21 people. The instrument used in this study were the questionnaire for the study of management causes and factors of the Learning Resources to develop the professional skills of the students. And the Interview, to determine guidelines of Learning Resources management to develop learners’ professional skills. Data were analyzed using content analysis, mean and standard deviation. The findings were as follows:
1. The state of Learning Resources management to develop professional skills of the students as a whole and retrieval aspects (working skills, problem solving, cooperation. That knowledge retrieval, Management task of personnel system. The study showed the management was at a high level, which working skills got the highest mean, followed by knowledge retrieval, cooperation, problem Solving, and management of working personnel system, respectively.
2. The Management causes and factors of the Learning Resources in order to develop professional skills of the students in Ban Parsakkai School in overall. The causes and factors in the management of Learning Resources , was at a high level. When considering individual aspect, the results showed that Man and Management were the causes and factors in the management of resources with the highest mean, followed by the material, Social, and economic, respectively.
3. Guidelines of Learning Resources Management to develop the professional skills of the students at Ban Parsakkai School.
3.1 The management of learning resources to develop professional skills of the students at Ban Parsakkai school in the next academic year (B.E.2558) should be focused on the management of learning resources to develop the students’ professional skills followed by problem solving, cooperation, knowledge retrieval and working skills, respectively.
3.2 The school should give priority to man and management first, followed by material, social and economic, respectively.
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว