การศึกษาสภาพการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในจังหวัดพิจิตร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 41
Main Article Content
บทคัดย่อ
ผลการศึกษาพบว่า
การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในจังหวัดพิจิตร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 41 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยรายด้านทั้ง 8 ด้าน ที่มีการบริหาร งานวิชาการสูงสุดลงมา ได้แก่ การพัฒนากระบวนการเรียนรู้และการวัดประเมินผล การพัฒนาหลักสูตรสถาน ศึกษา การส่งเสริมความรู้ด้านวิชาการแก่ชุมชน การนิเทศและการแนะแนวการศึกษา การพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และแหล่งเรียนรู้ การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา การวิจัยเพื่อ พัฒนาคุณภาพการศึกษา และการประสานความร่วมมือ การส่งเสริม สนับสนุนในการพัฒนางานวิชาการกับ บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน และสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา ตามลำดับ
A study on academic administration of administrators in schools in Pichit Province under the Office of the Secondary Educational Service Area 41
The purposes of the study were to study on academic administration of administrators in schools in Pichit province under the Office of the Secondary Educational Service Area 41. The samples were 285 teachers. The data were collected by a set of five-point rating scale questionnaires. Data analysis was done through frequency, percentage, arithmetic means and standard deviation
The results of the study are summarized below:
The academic administration of administrators in schools in Pichit province under the Office of the Secondary Educational Service Area 41 as a whole was at a high level. Accordingly the highest level eight means were the development process of learning and assessment, curriculum development, promotion of academic knowledge to the community, supervision and guidance education, development of innovative technologies for education and learning centers, development of quality assurance in education, research to improve the quality of education and collaboration to promote the development of academic work with individuals, families, organizations, and other institutions of education.
Article Details
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว